• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:db452afa7e0050d16cf23fec11b8e897' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43032\"></a><a href=\"/node/43032\"><img border=\"0\" width=\"358\" src=\"/files/u20244/banner.jpg\" height=\"248\" /></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff3399\">โครงสร้างทางเคมีของสบู่</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n               <span style=\"color: #ff3399\">สบู่ คือ เกลือของกรดไขมัน</span> <span style=\"color: #000000\">สูตรทั่วไป คือ</span> <img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u20244/NaOCR.jpg\" height=\"75\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n <br />\n<span style=\"color: #ff3399\">     สบู่ละลายน้ำแตกตัวให้ไอออนบวก และไอออนลบส่วนที่เป็นไอออนลบจะเป็นตัวที่ใช้ชำระล้าง สิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายได้ สามารถละลายในตัวทำละลายมีขั้ว และไม่มีขั้วได้ เพราะไอออนลบของสบู่ประกอบ ด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วนย่อยดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n <img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20244/R-c-o.jpg\" height=\"138\" />\n</p>\n<p>\n     <span style=\"color: #ff3399\">สบู่ที่ดีควรมีจำนวน C อะตอมในหมู่ R พอเหมาะ เป็นสบู่ที่ละลายน้ำได้ดี แต่ถ้ามีจำนวน C อะตอมมากเกินไปละลายน้ำได้ไม่ดี <br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3399\">     สบู่สามารถใช้ทดสอบความกระด้างของน้ำได้</span> <br />\n<span style=\"color: #3366ff\">     น้ำกระด้าง เป็นน้ำที่ประกอบด้วย Fe2+, Mg2+ และ Ca2+ ของ HCO-3, Cl- และ SO2-4</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"471\" src=\"/files/u20244/eq_0.jpg\" height=\"145\" />\n</div>\n<p>\n<br />\n <br />\n   <span style=\"color: #ff3399\">  เนื่องจากสบู่จะเกิดตะกอนไอออนในน้ำกระด้างทำให้เกิดการสิ้นเปลืองในการใช้สบู่ จึงได้มี การสังเคราะห์สารอื่นใช้ชำระล้างซักฟอกได้เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นั้นก็คือ ผงซักฟอก ซึ่งไม่ ตกตะกอนในน้ำกระด้าง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff3399\">     เนื่องจากคราบสกปรกส่วนมากมักมีไขมันเป็นส่วนประกอบ ดังนั้นขั้วที่ละลายในไขมันจะจับกับไขมันและสามารถดึงคราบสกปรกออกจากวัสดุที่เปรอะเปื้อน ในขั้นตอนทำความสะอาด   ประกอบด้วย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">   1.  การทำให้วัสดุที่ต้องการทำความสะอาดเปียกน้ำ โดยสารลดแรงตึงผิวจะลดความตึงผิวของโมเลกุลน้ำทำให้สารละลายของน้ำและ<br />\n        สารลดแรงตึงผิวสามารถเข้าไปสัมผัสผิววัสดุได้มากขึ้น สารลดแรงตึงผิว เมื่ออยู่ในน้ำจะแตกตัว ส่วนหนึ่งเป็นอิออนลบละลายในน้ำ <br />\n        อีกส่วนหนึ่งประกอบด้วยสายยาวของคาร์บอน และไฮโดรเจน ซึ่งละลายดีในไขมัน ส่วนนี้จะถูกน้ำดันให้อยู่บนผิวหน้าน้ำและแทรก<br />\n        ระหว่างโมเลกุลของน้ำ</span><br />\n<span style=\"color: #33cccc\">   2.  สารทำความสะอาดจะแยกสิ่งสกปรกจากผิวของวัสดุ</span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\">   3.  สารลดแรงตึงผิวจะทำให้เกิดฟอง โดยเปลี่ยนแปลงสภาพปกติของผิวน้ำและทำให้ช่วยชะล้างสิ่งสกปรกได้</span><br />\n</span><span style=\"color: #33cccc\">   4.  สารทำความสะอาด ทำให้อนุภาคสิ่งสกปรกที่หลุดออกมาแพร่กระจายอยู่ในตัวกลาง        <br />\n        ถ้าต้องการให้สิ่งสกปรกไม่กลับไปติดที่วัสดุอีก ก็จำเป็นที่จะต้องใส่สารบางชนิดลงไป สารเหล่านี้ได้แก่<br />\n          - CMC ( carboxymethyl cellulose )<br />\n          - PVP ( polyvinyl pyrolidone )</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #cc99ff\">&gt;&gt;&gt;   <a href=\"/node/46958\">ประเภทของสบู่</a>   &lt;&lt;&lt;</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #3366ff\">&gt;&gt;&gt;   <a href=\"/node/46553\">วิธีการทำสบู่</a>   &lt;&lt;&lt;</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43032\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u20244/homelink.jpg\" height=\"149\" /></a>                                             <a href=\"/node/46792\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u20244/sourcelink.jpg\" height=\"150\" style=\"width: 192px; height: 146px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1726724126, expire = 1726810526, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:db452afa7e0050d16cf23fec11b8e897' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สบู่...สบาย

 

โครงสร้างทางเคมีของสบู่

               สบู่ คือ เกลือของกรดไขมัน สูตรทั่วไป คือ


 
     สบู่ละลายน้ำแตกตัวให้ไอออนบวก และไอออนลบส่วนที่เป็นไอออนลบจะเป็นตัวที่ใช้ชำระล้าง สิ่งต่าง ๆ ทั้งหลายได้ สามารถละลายในตัวทำละลายมีขั้ว และไม่มีขั้วได้ เพราะไอออนลบของสบู่ประกอบ ด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วนย่อยดังนี้


 

     สบู่ที่ดีควรมีจำนวน C อะตอมในหมู่ R พอเหมาะ เป็นสบู่ที่ละลายน้ำได้ดี แต่ถ้ามีจำนวน C อะตอมมากเกินไปละลายน้ำได้ไม่ดี

     สบู่สามารถใช้ทดสอบความกระด้างของน้ำได้
     น้ำกระด้าง เป็นน้ำที่ประกอบด้วย Fe2+, Mg2+ และ Ca2+ ของ HCO-3, Cl- และ SO2-4


 
     เนื่องจากสบู่จะเกิดตะกอนไอออนในน้ำกระด้างทำให้เกิดการสิ้นเปลืองในการใช้สบู่ จึงได้มี การสังเคราะห์สารอื่นใช้ชำระล้างซักฟอกได้เช่นเดียวกับสบู่ สารสังเคราะห์นั้นก็คือ ผงซักฟอก ซึ่งไม่ ตกตะกอนในน้ำกระด้าง

     เนื่องจากคราบสกปรกส่วนมากมักมีไขมันเป็นส่วนประกอบ ดังนั้นขั้วที่ละลายในไขมันจะจับกับไขมันและสามารถดึงคราบสกปรกออกจากวัสดุที่เปรอะเปื้อน ในขั้นตอนทำความสะอาด   ประกอบด้วย

   1.  การทำให้วัสดุที่ต้องการทำความสะอาดเปียกน้ำ โดยสารลดแรงตึงผิวจะลดความตึงผิวของโมเลกุลน้ำทำให้สารละลายของน้ำและ
        สารลดแรงตึงผิวสามารถเข้าไปสัมผัสผิววัสดุได้มากขึ้น สารลดแรงตึงผิว เมื่ออยู่ในน้ำจะแตกตัว ส่วนหนึ่งเป็นอิออนลบละลายในน้ำ
        อีกส่วนหนึ่งประกอบด้วยสายยาวของคาร์บอน และไฮโดรเจน ซึ่งละลายดีในไขมัน ส่วนนี้จะถูกน้ำดันให้อยู่บนผิวหน้าน้ำและแทรก
        ระหว่างโมเลกุลของน้ำ

   2.  สารทำความสะอาดจะแยกสิ่งสกปรกจากผิวของวัสดุ
   3.  สารลดแรงตึงผิวจะทำให้เกิดฟอง โดยเปลี่ยนแปลงสภาพปกติของผิวน้ำและทำให้ช่วยชะล้างสิ่งสกปรกได้
   4.  สารทำความสะอาด ทำให้อนุภาคสิ่งสกปรกที่หลุดออกมาแพร่กระจายอยู่ในตัวกลาง        
        ถ้าต้องการให้สิ่งสกปรกไม่กลับไปติดที่วัสดุอีก ก็จำเป็นที่จะต้องใส่สารบางชนิดลงไป สารเหล่านี้ได้แก่
          - CMC ( carboxymethyl cellulose )
          - PVP ( polyvinyl pyrolidone )

 

>>>   ประเภทของสบู่   <<<

>>>   วิธีการทำสบู่   <<< 

                                            

 

สร้างโดย: 
นางสาวศุภัชยา พวงพรทิพ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 411 คน กำลังออนไลน์