• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2dcedc91d897db5cf76fdba494e6e857' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"th\"><span style=\"font-size: large\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #339966\"><span style=\"color: #ff00ff\"><strong><img border=\"0\" width=\"100\" src=\"/files/u19296/4703660db782d_0.gif\" height=\"100\" style=\"width: 43px; height: 43px\" /></strong></span></span>คณะนิติศาสตร์</span></strong></span></span><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><strong><span style=\"color: #003366\"> <br />\n</span></strong><span lang=\"th\">นิติศาสตร์คือการศึกษากฎเกณฑ์ความประพฤติของบุคคลที่อยู่รวมกันในสังคมที่เรียกว่า</span> “<span lang=\"th\">กฎหมาย</span>” <span lang=\"th\">การศึกษานิติศาสตร์จะมีสาระหลักๆ คือ</span> <br />\n1.<span lang=\"th\">นิติศาสตร์จะศึกษาทฤษฎี แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับสาระของกฎหมายในส่วนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งในการติดต่อทางธุรกิจทุกปนะเภท รวมตลอดจนหลักแห่งความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับรัฐและหน่วยงานของรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐในสังคมนานาชาติ</span><br />\n2.<span lang=\"th\">นิติศาสตร์มุ่งศึกษาบทบาทของกฎหมาย ทั้งในฐานะที่เป็นกรอบกำหนดเขตอำนาจหน้าที่ของรัฐมิให้ล่วงล้ำสิทธิเสรีภาพของประชาชน</span> <br />\n3.<span lang=\"th\">นิติศาสตร์ต้องให้ความสำคัญต่อคุณค่าเชิงคุณธรรมของกฎหมายด้วย เพราะกฎหมายมีขึ้นเพื่อความเป็นธรรม ดังนั้นจึงเน้นที่กระบวนการของกฎหมายว่า</span> “<span lang=\"th\">บริสุทธิ์</span>” <span lang=\"th\">และต้องมีความ </span>“<span lang=\"th\">ยุติธรรม</span>” <span lang=\"th\">ด้วย</span></span></span></span></p>\n<p><span lang=\"th\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>หลักสูตร</strong></span></span> <br />\n<span lang=\"th\">จะใช้เวลาศึกษา </span>4 <span lang=\"th\">ปี ประกอบด้วยหมวดวิชาต่อไปนี้</span><br />\n1.<span lang=\"th\">วิชาศึกษาทั่วไป ประกอบด้วยวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาษา และสหศาสตร์</span><br />\n2.<span lang=\"th\">วิชาเฉพาะด้าน วิชาที่จะต้องศึกษา เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายนิติกรรมสัญญา กฎหมายหุ้นส่วนบริษัท กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายภาษีอากรและกฎหมายระหว่างประเทศ</span><br />\n3.<span lang=\"th\">วิชาเลือก เป็นวิชาที่เปิดสอนในคณะนิติศาสตร์ เช่น กฎหมายแรงงาน กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายสิทธิมนุษยชน กฎหมายการธนาคาร และกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน</span> <br />\n<span lang=\"th\">เมื่อจบต้องสมัครเข้ารับการฝึกอบรมและสอบขอใบอนุญาตว่าความทั่วราชอาณาจักร การแสวงหาประสบการณ์ในคดีความต่างๆหรือการสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับเนติบัณฑิตทางกฎหมายจะช่วยให้มีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายมากขึ้น</span></p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><strong><span lang=\"th\">คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ</span> <br />\n</strong></span>- <span lang=\"th\">รักการอ่าน การค้นคว้า มีความรอบรู้ในเรื่องต่างๆกว้างขวาง</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ช่างคิด และมีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีความสามารถในการเขียนและใช้ภาษาไทยเนอย่างดี</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีนิสัยรักความเป็นธรรม</span> <br />\n<span lang=\"th\">สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายจะต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้</span> <br />\n- <span lang=\"th\">เป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เทียบไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียและไม่เป็นผู้ที่ทำการใดๆซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจ</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีประสบการณ์ในงานตุลาการทางกฎหมาย</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ต้องซื่อสัตย์ต่อผู้ว่าจ้าง มีความซื่อตรงและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย</span> </p>\n<p><span lang=\"th\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>แนวทางในการประกอบอาชีพ</strong></span></span> <br />\n<span lang=\"th\">ในสาขานี้ผู้จบสามารถประกอบอาชีพได้ทุกอาชีพและสามารถเข้ารับราชการได้ในทุกกระทรวง เช่น ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ตำรวจ นายทหารพระธรรมนูญ นิติกร ปลัดอำเภอ หรือประกอบอาชีพอิสระ เช่น ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย ตั้งสำนักทนายความและสามารถศึกษาต่อในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อสอบเป็นเนติบัณฑิตไทย ในระดับสูงขึ้นต่อไป</span> </p>\n<p><span lang=\"th\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ</strong></span></span> <br />\n- <span lang=\"th\">รักการอ่าน การค้นคว้า มีความรอบรู้ในเรื่องต่างๆกว้างขวาง</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ช่างคิด และมีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีความสามารถในการเขียนและใช้ภาษาไทยเนอย่างดี</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีนิสัยรักความเป็นธรรม</span> <br />\n<span lang=\"th\">สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายจะต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้</span> <br />\n- <span lang=\"th\">เป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เทียบไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียและไม่เป็นผู้ที่ทำการใดๆซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจ</span> <br />\n- <span lang=\"th\">มีประสบการณ์ในงานตุลาการทางกฎหมาย</span> <br />\n- <span lang=\"th\">ต้องซื่อสัตย์ต่อผู้ว่าจ้าง มีความซื่อตรงและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย</span> </p>\n<p><strong><span lang=\"th\"><span style=\"color: #ff6600\">แนวทางในการประกอบอาชีพ</span></span> <br />\n</strong><span lang=\"th\">ในสาขานี้ผู้จบสามารถประกอบอาชีพได้ทุกอาชีพและสามารถเข้ารับราชการได้ในทุกกระทรวง เช่น ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ตำรวจ นายทหารพระธรรมนูญ นิติกร ปลัดอำเภอ หรือประกอบอาชีพอิสระ เช่น ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย ตั้งสำนักทนายความและสามารถศึกษาต่อในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อสอบเป็นเนติบัณฑิตไทย ในระดับสูงขึ้นต่อไป</span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><a href=\"/node/43020\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">คณะจิตวิทยา</span></strong></a><img border=\"0\" width=\"95\" src=\"/files/u19296/494b1143a1897_t.gif\" height=\"95\" /></span></span></span><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"><a href=\"/node/42912\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">กลับสู่หน้าแรก</span></strong></a><span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"> </span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #333300\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #009f4f\"></span><br />\n</span></span> \n</p>\n', created = 1715430980, expire = 1715517380, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2dcedc91d897db5cf76fdba494e6e857' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คณะนิติศาสตร์

คณะนิติศาสตร์
นิติศาสตร์คือการศึกษากฎเกณฑ์ความประพฤติของบุคคลที่อยู่รวมกันในสังคมที่เรียกว่ากฎหมายการศึกษานิติศาสตร์จะมีสาระหลักๆ คือ
1.นิติศาสตร์จะศึกษาทฤษฎี แนวคิด หลักการ เกี่ยวกับสาระของกฎหมายในส่วนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งในการติดต่อทางธุรกิจทุกปนะเภท รวมตลอดจนหลักแห่งความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับรัฐและหน่วยงานของรัฐและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐในสังคมนานาชาติ
2.นิติศาสตร์มุ่งศึกษาบทบาทของกฎหมาย ทั้งในฐานะที่เป็นกรอบกำหนดเขตอำนาจหน้าที่ของรัฐมิให้ล่วงล้ำสิทธิเสรีภาพของประชาชน
3.นิติศาสตร์ต้องให้ความสำคัญต่อคุณค่าเชิงคุณธรรมของกฎหมายด้วย เพราะกฎหมายมีขึ้นเพื่อความเป็นธรรม ดังนั้นจึงเน้นที่กระบวนการของกฎหมายว่าบริสุทธิ์และต้องมีความ ยุติธรรมด้วย

หลักสูตร
จะใช้เวลาศึกษา 4 ปี ประกอบด้วยหมวดวิชาต่อไปนี้
1.วิชาศึกษาทั่วไป ประกอบด้วยวิชาในกลุ่มสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาษา และสหศาสตร์
2.วิชาเฉพาะด้าน วิชาที่จะต้องศึกษา เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายนิติกรรมสัญญา กฎหมายหุ้นส่วนบริษัท กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายภาษีอากรและกฎหมายระหว่างประเทศ
3.วิชาเลือก เป็นวิชาที่เปิดสอนในคณะนิติศาสตร์ เช่น กฎหมายแรงงาน กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายสิทธิมนุษยชน กฎหมายการธนาคาร และกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน
เมื่อจบต้องสมัครเข้ารับการฝึกอบรมและสอบขอใบอนุญาตว่าความทั่วราชอาณาจักร การแสวงหาประสบการณ์ในคดีความต่างๆหรือการสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับเนติบัณฑิตทางกฎหมายจะช่วยให้มีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายมากขึ้น

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
- รักการอ่าน การค้นคว้า มีความรอบรู้ในเรื่องต่างๆกว้างขวาง
- ช่างคิด และมีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น
- มีความสามารถในการเขียนและใช้ภาษาไทยเนอย่างดี
- มีนิสัยรักความเป็นธรรม
สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายจะต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้
- เป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เทียบไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียและไม่เป็นผู้ที่ทำการใดๆซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจ
- มีประสบการณ์ในงานตุลาการทางกฎหมาย
- ต้องซื่อสัตย์ต่อผู้ว่าจ้าง มีความซื่อตรงและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

แนวทางในการประกอบอาชีพ
ในสาขานี้ผู้จบสามารถประกอบอาชีพได้ทุกอาชีพและสามารถเข้ารับราชการได้ในทุกกระทรวง เช่น ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ตำรวจ นายทหารพระธรรมนูญ นิติกร ปลัดอำเภอ หรือประกอบอาชีพอิสระ เช่น ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย ตั้งสำนักทนายความและสามารถศึกษาต่อในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อสอบเป็นเนติบัณฑิตไทย ในระดับสูงขึ้นต่อไป

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
- รักการอ่าน การค้นคว้า มีความรอบรู้ในเรื่องต่างๆกว้างขวาง
- ช่างคิด และมีความกล้าในการแสดงความคิดเห็น
- มีความสามารถในการเขียนและใช้ภาษาไทยเนอย่างดี
- มีนิสัยรักความเป็นธรรม
สำหรับผู้ที่ต้องการเป็นที่ปรึกษาทางกฎหมายจะต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้
- เป็นนิติศาสตร์บัณฑิต เทียบไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี
- ไม่เป็นผู้มีความประพฤติเสื่อมเสียและไม่เป็นผู้ที่ทำการใดๆซึ่งแสดงให้เห็นว่าไม่น่าไว้วางใจ
- มีประสบการณ์ในงานตุลาการทางกฎหมาย
- ต้องซื่อสัตย์ต่อผู้ว่าจ้าง มีความซื่อตรงและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย

แนวทางในการประกอบอาชีพ
ในสาขานี้ผู้จบสามารถประกอบอาชีพได้ทุกอาชีพและสามารถเข้ารับราชการได้ในทุกกระทรวง เช่น ผู้พิพากษา พนักงานอัยการ พนักงานสอบสวน ตำรวจ นายทหารพระธรรมนูญ นิติกร ปลัดอำเภอ หรือประกอบอาชีพอิสระ เช่น ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย ตั้งสำนักทนายความและสามารถศึกษาต่อในสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา เพื่อสอบเป็นเนติบัณฑิตไทย ในระดับสูงขึ้นต่อไป

คณะจิตวิทยากลับสู่หน้าแรก 


 

สร้างโดย: 
นางสาวมานิดา จิระเสถียรพงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 326 คน กำลังออนไลน์