• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9030fccdb61979aeef5293c038f9ca02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span>ชื่อเรื่อง<span>      </span>: <span>  </span>การศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ <span> </span>ในโรงเรียนประโคนชัยวิทยา </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span>ชื่อผู้วิจัย<span>    </span>: <span> </span>นางกัญญาภรณ์<span>  </span>นุชวงษ์</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span>ปีที่วิจัย <span>     </span>: <span> </span>ปีการศึกษา </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2550<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span>บทคัดย่อ<o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">การวิจัยครั้งนี้เน้นศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยทำการวิจัยและใช้โครงการเข้ามาเป็นเครื่องมือในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ<span>  </span>มีวัตถุประสงค์</span><a name=\"OLE_LINK2\" title=\"OLE_LINK2\"></a><a name=\"OLE_LINK1\" title=\"OLE_LINK1\"></a><span><span style=\"color: #000000\">เพื่อ </span></span><span style=\"color: #000000\">ศึกษากระบวนการในการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ในโรงเรียนประโคนชัยวิทยาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการกิจกรรมลูกเสือ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ และประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมลูกเสือ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้กำกับลูกเสือในโรงเรียนประโคนชัยวิทยา จำนวน 24 คน และนักเรียนชายที่เรียนลูกเสือ จำนวน 30 คนพร้อมผู้ปกครอง ทำการวิจัยในปีการศึกษา </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">25<span lang=\"TH\">50 โรงเรียนประโคนชัยวิทยา <span> </span>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 <span> </span>สรุปผลการวิจัย ดังนี้</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span class=\"MsoPageNumber\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\">1. </span></span><span style=\"letter-spacing: -1pt\" lang=\"TH\">ผลการวิเคราะห์กระบวนการบริหาร</span></span><span style=\"font-size: 16pt; layout-grid-mode: line; color: black; font-family: \'Angsana New\'; letter-spacing: -1pt\" lang=\"TH\">กิจกรรมลูกเสือ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'; letter-spacing: -1pt\" lang=\"TH\">พบว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โรงเรียนประโคนชัยวิทยามีกระบวนการบริหารกิจกรรมลูกเสือทั้งระบบ โดยรวมแล้วในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 3.57 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.69 เมื่อแยกพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการจัดองค์การ มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีมากซึ่ง มากกว่าด้านอื่นๆ คือ 3.88 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.69<span>  </span>รองลงมาเป็นด้านงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีมาก คือ 3.73<span>  </span>ด้านการวางแผน ด้านการบริหารงานบุคคล <span> </span>ด้านการอำนวยการสั่งการ <span> </span>และด้านการรายงานผลการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ย 3.63,3.54,3.54 และ 3.45 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.70, 0.66, 0.66 และ 0.70 ตามลำดับ<span>  </span>ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าทุกด้าน<span>  </span>คือ ด้านการประสานงาน มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีปานกลาง คือ 3.24<span>  </span>ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.73</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">2. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ<span>  </span>พบว่า ปัจจัยทั้ง 4 ด้านส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือทั้งหมด โดยด้านการจัดมวลกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือมากที่สุด เห็นได้จากพัฒนาการที่เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าด้านอื่นๆ คือ ร้อยละ 27.40 รองลงมาเป็นด้านลูกเสือมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นจากก่อนดำเนินโครงการ ร้อยละ 26<span>  </span>ด้านผู้บริหาร มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นร้อยละ25.20 และด้านผู้กำกับลูกเสือมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 24.60 ก่อนดำเนินการพัฒนา พบว่า ผู้กำกับลูกเสือมีความพึงพอใจในโครงการในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.22 หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีความพึงพอใจในโครงการเพิ่มขึ้นในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.51<o:p></o:p></span></span><span class=\"MsoPageNumber\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">3. </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการกิจกรรมลูกเสือ พบว่า <br />\nผู้กำกับลูกเสือมีความพึงพอใจโดยรวมในโครงการที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.60 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 เมื่อแยกพิจารณารายข้อ พบว่า ลูกเสือทุกคนสามารถผ่านการประเมินในทุกกิจกรรม และลูกเสือปฏิบัติตามกิจกรรมด้วยความชื่นชอบ เป็นข้อที่ผู้กำกับลูกเสือพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.92<span>  </span>รองลงมาคือ ลูกเสือได้มิตรภาพระหว่างกัน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.88 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ นักเรียนเป็นลูกเสือที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับมาก คือ 4.21</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ลูกเสือมีความพึงพอใจในโครงการที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือโดยรวมแล้วในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.66<span>  </span>ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 เมื่อแยกพิจารณารายข้อ พบว่า<span>  </span>ลูกเสือ<br />\nมีความพึงพอใจในการเป็นผู้มีระเบียบวินัยยิ่งขึ้นมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.90 รองลงมาเป็นลูกเสือ<br />\nมีความสามัคคียิ่งขึ้น และลูกเสือได้รู้จักและเข้าใจในการใช้ชีวิตกลางแจ้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน คือ 4.83 และข้อที่ลูกเสือมีความพึงพอใจน้อยกว่าข้ออื่นๆ คือ ลูกเสือสามารถปฏิบัติตามกฎ คำปฏิญาณ และคติพจน์ของลูกเสือได้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4. 43</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"text-justify: inter-cluster; margin: 0cm 0cm 0pt; text-align: justify; tab-stops: 49.6pt 70.9pt 92.15pt 4.0cm\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span>                      </span>ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดโครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยรวมแล้วในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.21 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.65 เมื่อแยกพิจารณาตามรายการประเมิน พบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ นักเรียนรู้จักให้ความรัก และรู้จักแบ่งปันในหมู่พี่น้อง </span></span>\n</p>\n', created = 1715734926, expire = 1715821326, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9030fccdb61979aeef5293c038f9ca02' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ

ชื่อเรื่อง      :   การศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ  ในโรงเรียนประโคนชัยวิทยา

ชื่อผู้วิจัย    :  นางกัญญาภรณ์  นุชวงษ์ปีที่วิจัย      :  ปีการศึกษา 2550 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เน้นศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยทำการวิจัยและใช้โครงการเข้ามาเป็นเครื่องมือในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ  มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากระบวนการในการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ในโรงเรียนประโคนชัยวิทยาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของโครงการกิจกรรมลูกเสือ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ และประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมลูกเสือ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้กำกับลูกเสือในโรงเรียนประโคนชัยวิทยา จำนวน 24 คน และนักเรียนชายที่เรียนลูกเสือ จำนวน 30 คนพร้อมผู้ปกครอง ทำการวิจัยในปีการศึกษา 2550 โรงเรียนประโคนชัยวิทยา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2  สรุปผลการวิจัย ดังนี้                1. ผลการวิเคราะห์กระบวนการบริหารกิจกรรมลูกเสือ พบว่า โรงเรียนประโคนชัยวิทยามีกระบวนการบริหารกิจกรรมลูกเสือทั้งระบบ โดยรวมแล้วในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย 3.57 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.69 เมื่อแยกพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการจัดองค์การ มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีมากซึ่ง มากกว่าด้านอื่นๆ คือ 3.88 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.69  รองลงมาเป็นด้านงบประมาณ มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีมาก คือ 3.73  ด้านการวางแผน ด้านการบริหารงานบุคคล  ด้านการอำนวยการสั่งการ  และด้านการรายงานผลการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ย 3.63,3.54,3.54 และ 3.45 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.70, 0.66, 0.66 และ 0.70 ตามลำดับ  ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าทุกด้าน  คือ ด้านการประสานงาน มีค่าเฉลี่ยการดำเนินการในระดับดีปานกลาง คือ 3.24  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.732. ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ  พบว่า ปัจจัยทั้ง 4 ด้านส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือทั้งหมด โดยด้านการจัดมวลกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนากิจกรรมลูกเสือมากที่สุด เห็นได้จากพัฒนาการที่เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าด้านอื่นๆ คือ ร้อยละ 27.40 รองลงมาเป็นด้านลูกเสือมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นจากก่อนดำเนินโครงการ ร้อยละ 26  ด้านผู้บริหาร มีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นร้อยละ25.20 และด้านผู้กำกับลูกเสือมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 24.60 ก่อนดำเนินการพัฒนา พบว่า ผู้กำกับลูกเสือมีความพึงพอใจในโครงการในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.22 หลังการดำเนินโครงการ พบว่า มีความพึงพอใจในโครงการเพิ่มขึ้นในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.513. ผลการวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการกิจกรรมลูกเสือ พบว่า
ผู้กำกับลูกเสือมีความพึงพอใจโดยรวมในโครงการที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.60 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.49 เมื่อแยกพิจารณารายข้อ พบว่า ลูกเสือทุกคนสามารถผ่านการประเมินในทุกกิจกรรม และลูกเสือปฏิบัติตามกิจกรรมด้วยความชื่นชอบ เป็นข้อที่ผู้กำกับลูกเสือพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.92  รองลงมาคือ ลูกเสือได้มิตรภาพระหว่างกัน มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ 4.88 และข้อที่มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ นักเรียนเป็นลูกเสือที่มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับมาก คือ 4.21
ลูกเสือมีความพึงพอใจในโครงการที่ใช้ในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือโดยรวมแล้วในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.66  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.48 เมื่อแยกพิจารณารายข้อ พบว่า  ลูกเสือ
มีความพึงพอใจในการเป็นผู้มีระเบียบวินัยยิ่งขึ้นมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.90 รองลงมาเป็นลูกเสือ
มีความสามัคคียิ่งขึ้น และลูกเสือได้รู้จักและเข้าใจในการใช้ชีวิตกลางแจ้ง มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน คือ 4.83 และข้อที่ลูกเสือมีความพึงพอใจน้อยกว่าข้ออื่นๆ คือ ลูกเสือสามารถปฏิบัติตามกฎ คำปฏิญาณ และคติพจน์ของลูกเสือได้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4. 43

                      ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการจัดโครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ โดยรวมแล้วในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.21 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 0.65 เมื่อแยกพิจารณาตามรายการประเมิน พบว่า รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ นักเรียนรู้จักให้ความรัก และรู้จักแบ่งปันในหมู่พี่น้อง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 264 คน กำลังออนไลน์