เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

ชื่อเรื่อง                    รายงานผลการพัฒนาและผลการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช                                  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่  2  ผู้ศึกษาค้นคว้า    นางสุภาพร  ฝนดี   ตำแหน่ง  ครู   วิทยฐานะ ครูชำนาญการ                    โรงเรียนหลักเมืองมหาสารคาม  อำเภอเมืองมหาสารคาม                               สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม  เขต 1                    สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  กระทรวงศึกษาธิการปีที่พิมพ์                  2551 บทคัดย่อ                 หนังสือเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มีบทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการแสวงหาความรู้ และการอ่านหนังสือมีความจำเป็นต่อชีวิตของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคม  ทั้งนี้การมีความรู้        ในด้านต่าง ๆ เป็นพื้นฐานย่อมทำให้บุคคลประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต  ดังนั้นผู้ศึกษา    จึงได้พัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80  เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่องชีวิตพืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2/4  ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์    รวมทั้งยังศึกษาถึงความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/4  ที่เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม  กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/4  จำนวน 35 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล  ประกอบด้วย  หนังสืออ่านเพิ่มเติม   เรื่อง ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่  2  จำนวน  6  เล่ม  แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช  ชั้นประถมศึกษาปีที่  2  จำนวน  12  แผน  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นแบบปรนัย  ชนิดเลือกตอบ     3  ตัวเลือก  จำนวน 20 ข้อ  แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  2  ที่เรียนด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้  ได้แก่   ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการทดสอบ  t-test(Dependent  Sample)  นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ   

                ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า

                                1.  หนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  มีประสิทธิภาพเท่ากับ 86.64/86.43  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้  80/
80
                                2.  ดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านเพิ่มเติม เรื่อง ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  มีค่าเท่ากับ  0.7654  แสดงว่านักเรียน มีความรู้เพิ่มมากขึ้นกว่าเดิม  คิดเป็นร้อยละ  76.54                                3.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน  ด้วยหนังสืออ่านเพิ่มเติม    เรื่อง ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01  โดยคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน                                  4.  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/4  มีความพึงพอใจต่อการเรียน  โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม  เรื่อง  ชีวิตพืช  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  อยู่ในระดับมากที่สุด

ชื่อผลงานทางวิชาการ       รายงานผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย  ชื่อผู้ศึกษา                             นางสาวจารุวรรณ   กู้เกียรติกำธรปีการศึกษา                           2555-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------บทคัดย่อรายงานผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย  มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่น ก่อนและหลังการจัดกิจกรรม และ                              2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กปฐมวัย  ชั้นอนุบาลปีที่ 2                      ชาย หญิง ที่กำลังเรียนอยู่ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา  2555  โรงเรียนบ้านหนองนา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี   เขต 3  จำนวน 14  คน ซึ่งผู้ศึกษาได้รับมอบหมายเป็นครูประจำชั้น   เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่  1) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย  2) แผนการจัดประสบการณ์กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย  และ 3) แบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย   วิเคราะห์ขอมูลโดย หาค่าเฉลี่ย   ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ค่าแจกแจง  t                             แบบ Dependent  Samples   ผลการศึกษาพบวา                  1. เด็กปฐมวัยมีทักษะทางมิติสัมพันธ์หลังการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย   รวมทุกด้านสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม  คือ ก่อนการจัดกิจกรรม   มีคะแนนเฉลี่ย  ( ) =  5.39 ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.) = 1.34  และหลังการจัดกิจกรรม    มีคะแนนเฉลี่ย ( ) = 15.89  ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) = 1.32

2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะประกอบวัสดุในท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมทักษะทางมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัย  มีทักษะทางมิติสัมพันธ์รวมทุกด้าน มีคะแนนเฉลี่ยหลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05 

ชื่อเรื่อง  รายงานการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4
ผู้ศึกษาค้นคว้า  นางธิดารัตน์  วิเชียรลม   ตำแหน่งครู  วิทยฐานะครูชำนาญการ  โรงเรียนหนองหลวงศึกษา
ปีที่พิมพ์  2555

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้  มีวัตถุประสงค์เพื่อ  (1)  พัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  (2)  ศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  (3)  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  (4)  ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  ดำเนินการศึกษาโดยใช้รูปแบบการวิจัยแบบ  one group pretest – posttest design  และมีการเก็บข้อมูลระหว่างการทดลอง  กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4   โรงเรียนหนองหลวงศึกษา  อำเภอสว่างแดนดิน  จังหวัดสกลนคร  ที่กำลังเรียนอยู่ในภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2555  จำนวน  25  คน  ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  ในครั้งนี้  ประกอบด้วย  เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง  ได้แก่  แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ  เพื่อความเข้าใจ  จำนวน  6  ชุด  และแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  จำนวน  6  แผน  จำนวน  18  ชั่วโมง  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล  ได้แก่  (1)  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านแบบปรนัย  ชนิดเลือกตอบ  4  ตัวเลือก  จำนวน  30  ข้อ  มีค่าความยากง่าย  (p)   0.21 – 0.65  ค่าอำนาจจำแนก  (r)  0.21 – 0.54  และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ  0.83  (2)  แบบสอบถามความพึงพอใจนักเรียน  แบบมาตราส่วนประมาณค่า  5  ระดับ  จำนวน  15  ข้อ  การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ  ร้อยละ  ,  ค่าเฉลี่ย  ,  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ,  การทดสอบค่าที  แบบ  Dependent  ,  ค่า  E1//E2  ผลการศึกษาพบว่า
1.  แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA) มีประสิทธิภาพ  (E1/E2)  เท่ากับ  81.60 / 83.11  สูงกว่าเกณฑ์  80/80  ที่ตั้งไว้
2.  ค่าดัชนีประสิทธิผล  (E.I.)  ของแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ   ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  มีค่าเท่ากับ  0.6923  แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ  69.23
3.  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ  ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอรด็อค (MIA)  โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด

ชื่อเรื่อง
:
              การประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ  โรงเรียนบ้านกระสัง  อำเภอชุมพลบุรี  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์
เขต 2

ชื่อผู้ประเมิน :     นายวัฒนา    สุดชารี
ปีที่ประเมิน :       2554

บทคัดย่อ

การประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนบ้านกระสัง อำเภอชุมพลบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์
เขต 2
ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของโรงเรียนบ้านกระสัง
ทั้ง
4 ด้าน คือ ด้านบริบท  ด้านปัจจัยนำเข้า  ด้านกระบวนการ  ด้านผลผลิต  และเพื่อประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการดำเนินงานตามโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 74
คน  ซึ่งประกอบด้วย
ผู้บริหาร
1 คน ครู 5 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
จำนวน
7 คน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 25 คน และนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 36
 คน โดยการสุ่มแบบเจาะจง   เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน คือ แบบสอบถาม  จำนวน 6 ฉบับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

                ผลการประเมิน  ผลการประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม
 อยู่ในระดับมากที่สุด  ผลการประเมินด้าน
ปัจจัยเบื้องต้น อยู่ในระดับมาก   ผลการประเมินด้านกระบวนการ
อยู่ในระดับมากที่สุด   ผลการประเมินด้านผลผลิต
  อยู่ในระดับมากที่สุด  ผลการประเมินผลกระทบ บ้าน วัด และโรงเรียน ครูและบุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน
มีความคิดเห็นต่อ ด้านผลกระทบ โครงการ
โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนบ้านกระสัง  
อำเภอชุมพลบุรี  จังหวัดสุรินทร์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์  เขต 2 อยู่ในระดับมากที่สุด
เป็นผลกระทบในด้านบวก 
คือมีการพัฒนาที่ดีขึ้น เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุดทุกด้าน
ด้านที่มีผลกระทบสูงสุด คือ  
ผลกระทบต่อโรงเรียน  รองลงไปคือผลกระทบต่อผู้ปกครอง  ชุมชน บ้าน 
 และที่มีผลกระทบต่ำสุด คือ
ผลกระทบต่อวัด   ครูและบุคลากร 
นักเรียน  คณะกรรมการสถานศึกษา  และผู้ปกครองนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการดำเนินการโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ
อยู่ในระดับมากที่สุด

ดีมาค่ะ

ชื่อเรื่อง                  รายงานการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  เรื่อง  ตัวประกอบของจำนวนนับ  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ผู้ศึกษา                   บุญตา  เกียวกุลปีการศึกษา            2554 บทคัดย่อ                    การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำนวนนับ  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ให้มีประสิทธิภาพ 80/80  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6     ก่อนเรียนกับหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ที่มีต่อการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้  ได้แก่  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  โรงเรียนบ้านทัพหลวง  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3  ปีการศึกษา 2554  จำนวน 29 คน  โดยการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้  ได้แก่  1)  แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  เรื่อง  ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวน 20 แผน 2) แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  จำนวน 5 เล่ม 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ลักษณะเป็นแบบปรนัยเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก  จำนวน 30 ข้อ   4)  แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ โดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale)  5 ระดับ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่  1) การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ใช้  E1/ E2  2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ตัวประกอบของจำนวนนับ  จากแบบฝึกเสริมทักษะระหว่างก่อนกับหลังการใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ ใช้ค่าที (t-test)  3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนโดยแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  ใช้ค่าเฉลี่ยและค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)                   ผลการศึกษา  พบว่า                     1)  แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำนวนนับ  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ที่สร้างขึ้น  มีประสิทธิภาพ  86.58/82.87  ซึ่งสอดคล้องตามเกณฑ์ที่กำหนด                     2)  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวประกอบของจำนวนนับ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  0.05                     3)  นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์  เรื่อง  ตัวประกอบของจำนวนนับ  อยู่ในระดับมาก

ชื่อเรื่อง          รายงานผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1    ชื่อผู้ศึกษา      นายสวัสดิ์  บุญราช  หน่วยงาน      โรงเรียนบ้านหลัก      ปีการศึกษา     2554   บทคัดย่อ      การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80  เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้  คือ  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1  ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2554  ของโรงเรียนบ้านหลัก  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต  2  จำนวน  19  คน   ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง  (Purposive  Sampling)     เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา  มี  4  ชนิด  ได้แก่  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  จำนวน  48  แผน  ใช้ทำการสอนแผนละ  1  ชั่วโมง  (หรืออาจปรับยืดหยุ่นได้ตามความเหมาะสม)แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  จำนวน  24  ชุด  ชุดละ  5  กิจกรรม  และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  เรื่อง  การอ่านและการเขียนสะกดคำ  มาตราแม่    กา  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ  3  ตัวเลือก  จำนวน  30  ข้อ  ซึ่งมีค่าความยาก   ระหว่าง  0.50  ถึง  0.86  ค่าอำนาจจำแนก   ระหว่าง  0.21  ถึง  0.47  และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ  0.86  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และทดสอบสมมติฐานด้วย  t-test  for  Dependent  Samples    ผลการศึกษาพบว่า    1.  กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1   มีประสิทธิภาพ    เท่ากับ  86.54/86.31     2.  ดัชนีประสิทธิผล   ของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1  มีค่าเท่ากับ  0.7920  หรือคิดเป็นร้อยละ  79.20    3.  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  1  ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ  แม่  ก กา  เรื่องสระพาสนุก  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่  1 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01

 เรื่อง    ผลการพัฒนาแบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์ และหนังสือนิทานคำคล้องจอง  เพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2   ผู้ศึกษาค้นคว้า    ชบาไพร  รัตนกาญจน์    หน่วยงาน   โรงเรียนบ้านหลัก  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์  เขต    ปีที่พิมพ์  2554     บทคัดย่อ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์และหนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  โรงเรียนบ้านหลัก  อำเภอบ้านกรวด  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์  เขต  2  ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80  และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนการทำแบบทดสอบวัดความพร้อมทางคณิตศาสตร์ ชั้นอนุบาลปีที่  2  ระหว่างก่อนและหลังการจัดประสบการณ์โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์และหนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้  ได้แก่  เด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2  โรงเรียนบ้านหลัก  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์  เขต 2  ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2554  จำนวน  21  คน  โดยเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้  มี  4  ชนิด  ได้แก่  แผนการจัดประสบการณ์ประกอบการใช้แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์และหนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  จำนวน  30  แผน  แผนละ  20  นาที  แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  จำนวน  6  เล่ม  หนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  จำนวน  30  เรื่อง  และแบบทดสอบวัดความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  จำนวน  30  ข้อ  เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ  3  ตัวเลือก  จำนวน  30  ข้อ  ซึ่งมีค่าความยาก  ระหว่าง  0.47  ถึง  0.79  ค่าอำนาจจำแนก ระหว่าง  0.23  ถึง  0.57  และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ  0.88  สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และทดสอบสมมติฐานด้วย  t-test  for  Dependent  Samples  ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏ  ดังนี้   1.  แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์และหนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2 โรงเรียนบ้านหลัก  อำเภอบ้านกรวด  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์  เขต  2  ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ  เท่ากับ  86.70/84.44  2.  เด็กชั้นอนุบาลปีที่  2  ที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้แบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์และหนังสือนิทานคำคล้องจองเพื่อพัฒนาความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  โรงเรียนบ้านหลัก  อำเภอบ้านกรวด  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์  เขต  2  มีคะแนนการทำแบบทดสอบวัดความพร้อมทางคณิตศาสตร์  ชั้นอนุบาลปีที่  2  หลังการจัดประสบการณ์สูงกว่าก่อนจัดประสบการณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01 

ชื่อเรื่อง              การพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน                            สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  โรงเรียนบ้านโนนจันทึกกลุ่มสาระ          กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  หน่วยงาน         โรงเรียนบ้านโนนจันทึก  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา                              ขอนแก่น  เขต  3ปีที่พิมพ์             2554ผู้ศึกษา               นางรุ่งทิวา  นาทศรีทาที่ปรึกษา            นางภาวนี  อิศรา     

บทคัดย่อ

                    การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายดังนี้  1)  เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  75/75  2)  เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  3)  เพื่อหาประสิทธิภาพความคงทนทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  4)  เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  โรงเรียนบ้านโนนจันทึก  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษา  ขอนแก่น  เขต  3  กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  จำนวน  21  คน  เครื่องมือที่ใช้  ได้แก่  แบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  ที่มีประสิทธิภาพ  4.29  อยู่ในระดับเหมาะสมมาก  แผนการจัดการเรียนรู้  เรื่อง  เศษส่วน  จำนวน  17  แผน  17  ชั่วโมง  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อน หลังเรียน  จำนวน  30  ข้อ  และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีต่อการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์  จำนวน  20  ข้อ ผลการศึกษาปรากฏว่า

                   1.  การพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  75/75 E1/E2  =  77.62/76.89  และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  มีผลการประเมินทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ  82.87

                   2.  ดัชนีประสิทธิผลของพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 

เรื่อง  เศษส่วน  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  มีค่าเท่ากับ  0.4549  แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้

หรือมีพัฒนาการในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น  คิดเป็นร้อยละ  45.49                   3.  ประสิทธิภาพความคงทนของแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  เปรียบเทียบกับการทำแบบทดสอบหลังเรียน  ซึ่งได้ค่าเฉลี่ยที่  75.89  และคะแนนจากการทำแบบทดสอบหลังการเรียน  15  วัน  ประสิทธิภาพความคงทนของแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  76.97                   4.  ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีต่อการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  มีค่า  S.D.  1.66  มีค่าเฉลี่ยที่  4.33  อยู่ในระดับเหมาะสมมาก                   โดยสรุปแบบฝึกทักษะการคิดพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  เรื่อง  เศษส่วน  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ได้  และสามารถนำไปใช้สอนเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาได้ 

ชื่อเรื่อง           รายงานการพัฒนาและการใช้ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อกลุ่มสาระการเรียนรู้                        สุขศึกษาและพลศึกษา  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6

ผู้รายงาน       นายสัมฤทธิ์  ทองไทยสถานศึกษา   โรงเรียนดงแสนแก้วดงสำราญ  อำเภอชานุมาน  จังหวัดอำนาจเจริญปีการศึกษา     2552 บทคัดย่อ 

                   การจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ  และบรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้นั้น  จำเป็นต้องใช้สื่อนวัตกรรมตลอดจนเทคนิค  และวิธีการสอนในรูปแบบต่าง ๆ  เพื่อให้กิจกรรมการเรียนการสอนน่าสนใจ  อีกทั้งยังเป็นการสร้างความเข้าใจในเนื้อหาให้กระจ่างชัดยิ่งขึ้น

                   การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย  (1)   เพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 
6  (2)   เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80  (3)   เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน  (4
)  เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา  ชั้นประถมศึกษาปีที่  
6  เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้คือ  ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  จำนวน  12 ชุด  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  และแบบสอบถามความพึงพอใจ  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล  ได้แก่  ค่าเฉลี่ย  ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ค่าร้อยละ  และการทดสอบสมมติฐานใช้  t-test  Dependent

                    ผลการศึกษาปรากฏ ดังนี้                         1.   การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  พบว่า  ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  ที่ผู้รายงานสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ  84.17/87.02  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์  80/80  ที่ตั้งไว้

                         2.   ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน  โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01  และค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะมีค่าเท่ากับ  0.7628  แสดงว่าผู้เรียนที่เรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะ  เซปักตะกร้อมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ  76.28

                         3.   การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเซปักตะกร้อ  กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา  ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  (   =  4.47)  และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน  (S.D.)  เท่ากับ  0.59  ซึ่งแสดงให้เห็นว่าระดับความพึงพอใจของนักเรียนมีความสอดคล้องกัน                

ชื่อผลงานวิจัย        การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย                 นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ปีการศึกษา             2552                                                                                 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบ         การจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552                กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%                ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว    (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65   คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )    

 

ชื่อผลงานวิจัย        การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย                 นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ปีการศึกษา             2552                                                                                 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบ         การจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552                กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%                ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว    (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65   คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )       

ชื่อผลงานวิจัย   การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย   นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง  ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552                                                                                                              บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%  ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65 คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )    

ชื่อผลงานวิจัย   การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย   นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง  ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552                                                                                                              บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%  ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65 คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )    

ชื่อผลงานวิจัย      การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย    นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง  ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ปีการศึกษา            2552                                                                                 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบ         การจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552                กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%                ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว    (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65   คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )    

ชื่อผลงานวิจัย      การพัฒนาและการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่อง เรือมปกาสตราว(รำกันเกรา) สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน จังหวัดสุรินทร์ชื่อผู้วิจัย                 นางสาวรุจีสวัสดิ์  ส่งเสริมตำแหน่ง                ครูชำนาญการ โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ปีการศึกษา            2552                                                                                 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน  80/80 (2)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียน วิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552 (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อ  การเรียน ตามเอกสารประกอบ         การจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 ปีการศึกษา 2552                กลุ่มตัวอย่าง  เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธิน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33  ปีการศึกษา  2552  ที่เรียนวิชานาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์  รหัสวิชา ศ30221 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ( Simple  Sampling ) จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1-4/7 ชั้นละ 5 คนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 จำนวน 6 คน  ตามตารางกำหนดขนาดตัวอย่างของ  Taro  Yamane  ที่ระดับ      ความเชื่อมั่น 95%                ผลการวิจัยปรากฏว่า ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง เรือมปกาสตราว (รำกันเกรา ) มีประสิทธิภาพ 90.24/91.81 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวีรวัฒน์โยธินที่เลือกเรียนรายวิชา  นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศ30221 จำนวน 1 ห้องเรียน 41 คน ปีการศึกษา 2552 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการใช้เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะ เรื่อง  เรือมปกาสตราว    (รำกันเกรา ) อยู่ในระดับ  มากที่สุด  ค่าเฉลี่ยร้อยละ 4.65   คำสำคัญ เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู้ศิลปะเรื่องเรือมปกาสตราว (รำกันเกรา )    

ชื่อเรื่อง                 รายงานการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัด                                กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD  เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้                                คณิตศาสตร์    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ผู้ศึกษา                   นายสุทาน  มีเจริญ

โรงเรียน                โรงเรียนบ้านชุมแสง                                         

                                สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2   

                                ปีที่พิมพ์  2553 บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมาย   เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD  เรื่อง  เศษส่วน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80/80    เพื่อศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน  โดยใช้แบบฝึกทักษะ    ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD   เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   และเพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4กลุ่มตัวอย่าง คือ   นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านชุมแสง  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2   อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์  ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา  2552  จำนวน 16 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง  (Purposive   Sampling)   เครื่องมือที่ใช้ได้แก่   แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD    เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่  4  จำนวน  9  แผน ทำการสอนแผนละ 2 ชั่วโมง รวม 18  ชั่วโมง  มีระดับคุณภาพความเหมาะสมอยู่ระหว่าง   4.60  ถึง 5.00   และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ   4.76   ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด    แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  มีระดับคุณภาพความเหมาะสมอยู่ระหว่าง  4.60  ถึง 5.00   และมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  4.94   ซึ่งมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง  เศษส่วน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่  4   ชนิดเลือกตอบ 4  ตัวเลือก  จำนวน 30  ข้อ  มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.23  ถึง  0.73  ค่าความเชื่อมั่น 0.93   แบบวัดความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD    เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์   ชั้นประถมศึกษาปีที่  4  ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า  5 ระดับ จำนวน 15  ข้อ  มีค่าอำนาจจำแนกรายข้อตั้งแต่ 0.31   ถึง   0.88ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดความพึงพอใจทั้งฉบับเท่ากับ  0.91  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ  ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน                     ผลการศึกษาปรากฏดังนี้                   1.  แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ  เทคนิค  STAD เรื่องเศษส่วน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   มีประสิทธิภาพเท่ากับ  89.49/85  สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80/80  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                    2.  ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ  เทคนิค  STAD   เรื่องเศษส่วน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   มีค่าเท่ากับ 0.7750   หรือคิดเป็นร้อยละ 77.503.  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ที่เรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ  เทคนิค  STAD   เรื่องเศษส่วน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  มีคะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01                   4. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  มีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ  เทคนิค  STAD  เรื่องเศษส่วน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เฉลี่ยเท่ากับ 4.72   ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด                   โดยสรุป แบบฝึกทักษะ  ประกอบแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค  STAD  เรื่อง  เศษส่วน   กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์    ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  ช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น จึงควรสนับสนุนให้ครูคณิตศาสตร์นำรูปแบบไปใช้ในการเรียนการสอนทุกระดับชั้น 

รูปภาพของ beauten

ชื่องานวิจัย            การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี

เรื่อง ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5

ชื่อผู้วิจัย                 นายสะอาด  คงช่วย

ตำแหน่ง                ครูชำนาญการ  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์

ปีการศึกษา            2552

 

บทคัดย่อ

 

    การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ  (1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี   เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์  80 / 80    (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี  เรื่อง  ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  (3)  สำรวจความพึงพอใจของนักเรียนหลังการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี   เรื่อง ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม     

                    กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5   แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์         ภาคเรียนที่  2  ปีการศึกษา  2552  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์  อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จำนวน 36 คน    เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  ได้แก่  (1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี  เรื่อง ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม    (2)  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี  เรื่อง ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม    (3)  แบบสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนหลังการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี เรื่อง ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  การหาประสิทธิภาพของบทเรียน  ค่าเฉลี่ย   ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และการทดสอบค่าที  (t – test)

                    ผลการวิจัยพบว่า  

1.   บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี  เรื่อง  ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ  E1/E2  เท่ากับ 85.07/82.29  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 

    2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี    เรื่อง   ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม 

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5    หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างมีนัยสำคัญ  ทางสถิติที่ระดับ  .05     

    3.  ความพึงพอใจของนักเรียนหลังการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาเคมี   เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม อยู่ในระดับมาก

บทคัดย่อเรื่อง        การสร้างแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนระโนดวิทยา อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา  ผู้ศึกษา   :  นายพฤฒพงศ์  สุวรรณรักษา  ครูชำนาญการ โรงเรียนระโนดวิทยา  อำเภอระโนด  จังหวัด  สงขลา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสงขลา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปีที่ศึกษา : ปีการศึกษา 2552                     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพ และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์  เรื่องระบบจำนวนเต็ม  ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียนระโนดวิทยา อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา 4 ห้องเรียน จำนวน 152 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1  จำนวน  39  คน ได้จากการสุ่มโดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม       
                เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1 แบ่งเป็น 6 ตอน จำนวน 46 ชุดและแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 23 แผนใช้เวลา  23 ชั่วโมง  ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 1 ฉบับ จำนวน 25 ข้อ  และแบบทดสอบย่อยท้ายแบบฝึกทักษะ แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 6 ฉบับ
            การวิเคราะห์ข้อมูล ในการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ  วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องระบบจำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โดยการหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) ใช้สถิติพื้นฐานและกำหนดเกณฑ์  E1/E2 เท่ากับ 80/80  ส่วนการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใช้การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนเฉลี่ยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการเรียนกับคะแนนเฉลี่ยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะ โดยใช้การทดสอบที (t-test) แบบสัมพันธ์กัน  (t - test dependent Sample)ผลการศึกษาพบว่าแบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ  83.51/83.13  สูงว่าเกณฑ์ที่กำหนด  และการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการเรียน พบว่าหลังการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ วิชาคณิตศาสตร์  เรื่อง ระบบจำนวนเต็ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการใช้แบบฝึกทักษะ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .01  

 

รูปภาพของ beauten

ชื่อเรื่อง         การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ 

ชื่อผู้จัดทำ      มาลัย  นิติวิศิษฎ์กุล                                                                                                               

โรงเรียน       ทุ่งหว้าวรวิทย์  จังหวัดสตูล

ปีการศึกษา   2552

บทคัดย่อ

                   รายงานการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์  มีวัตถุประสงค์เพื่อหาประสิทธิภาพของ

ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน  ที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา  2552  จำนวน  42  คน  เครื่องมือในการศึกษา  คือ  แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  แบบทดสอบระหว่างเรียน จำนวน 15  ชุด  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจำนวน  30  ข้อ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  จำนวน 15  รายการ  ทำการศึกษาในช่วงวันที่  2  พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ถึง  วันที่  17  ธันวาคม พ.ศ. 2552  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ  ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบค่า t  (t – test)

                   ผลการศึกษาสรุปได้ว่า

                   1.  ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์  เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์  มีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย  85.84 / 83.41 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน  80/80    

                   2.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์  เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์  หลังเรียน    สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

                   3.  ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนและทศนิยม  สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  โรงเรียนทุ่งหว้าวรวิทย์ โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับ  ดี   

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 501 คน กำลังออนไลน์