• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:63ad0e4fe3c8bdff5a8cf3f7f8fd4cdf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong> :&nbsp; การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5 โรงเรียนเทศบาล&nbsp; 4&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; (บ้านทุ่งคาเกรียน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี</p>\n<p>&nbsp;<strong>ผู้วิจัย </strong>&nbsp; :&nbsp; สุพร เจียรชัย , โรงเรียนเทศบาล&nbsp; 4 (บ้านทุ่งคาเกรียน) &nbsp;อำเภอบ้านนาสาร&nbsp; จังหวัดสุ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; ราษฎร์ธานี&nbsp; &nbsp;ปีการศึกษา&nbsp; 2560.</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p class=\"10\">&nbsp;</p>\n<p class=\"10\">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์&nbsp; เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5 โรงเรียนเทศบาล&nbsp; 4&nbsp; (บ้านทุ่งคาเกรียน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2)&nbsp; สร้างและหาประสิทธิภาพหลักสูตร&nbsp; 3)&nbsp; ทดลองใช้หลักสูตรที่สร้างขึ้น&nbsp; และ 4)&nbsp; ประเมินผลการใช้หลักสูตรที่สร้างขึ้น&nbsp; โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัย&nbsp; ดังนี้</p>\n<p class=\"10\">ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5&nbsp; ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 &nbsp;จำนวน&nbsp; 57 คน&nbsp; &nbsp;&nbsp;เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามความต้องการสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ &nbsp;ชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (Percentage)&nbsp; ค่าเฉลี่ย&nbsp; () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (<em>S.D</em>.) และการวิเคราะห์เนื้อหา&nbsp;&nbsp; &nbsp;</p>\n<p class=\"10\"><strong>ขั้นตอนที่&nbsp; 2&nbsp; การสร้างและหาประสิทธิภาพหลักสูตร </strong>แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จำนวน&nbsp; 5&nbsp; คน เพื่อประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงร่างหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น&nbsp; &nbsp;เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงร่างหลักสูตร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ&nbsp; ค่าเฉลี่ย&nbsp; () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) &nbsp;</p>\n<p class=\"10\">ขั้นตอนที่&nbsp; 3&nbsp; การทดลองใช้หลักสูตรหลักสูตร &nbsp;กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ&nbsp; นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5/2&nbsp; ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560&nbsp; จำนวน&nbsp; 31&nbsp; คน&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ &nbsp;1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน &nbsp;2) แบบประเมินทักษะทางภาษาอังกฤษ&nbsp; 3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบค่าที (t-test)&nbsp; แบบไม่เป็นอิสระและค่าเฉลี่ยร้อยละ (%)</p>\n<p class=\"10\">ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้หลักสูตร&nbsp; แหล่งข้อมูลที่ใช้การวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5/2&nbsp; ที่ จำนวน&nbsp; 31&nbsp; คน&nbsp; ที่เรียนในหลักสูตรที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย&nbsp; คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน &nbsp;สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย&nbsp; () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน&nbsp; ()&nbsp;</p>\n<p class=\"10\"><strong>ผลการวิจัย พบว่า</strong></p>\n<p class=\"a0\">1.&nbsp; นักเรียนต้องการให้จัดทำสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 5 &nbsp;คือ 1) เนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลของบุคคล 2) &nbsp;เนื้อหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมรอบตัวเรา&nbsp; 3) &nbsp;เนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมการซื้อขายสินค้าและเทศกาลวันสำคัญ และ 4) เนื้อหาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม มาใช้ในก &nbsp;และต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ที่มีเนื้อหาง่าย น่าสนใจสามารถนำไปใช้สื่อสารกับชาวต่างชาติ ได้จริง</p>\n<p class=\"10\">2.&nbsp; หลักสูตรที่สร้างขึ้นมีองค์ประกอบคือ&nbsp; ความเป็นมาและความสำคัญของหลักสูตร หลักการของหลักสูตร จุดหมายของหลักสูตร&nbsp; เกณฑ์การใช้หลักสูตร&nbsp; คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้จำนวน&nbsp; 4&nbsp; หน่วย&nbsp; โครงสร้างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้&nbsp;&nbsp; แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 40 ชั่วโมง&nbsp; หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากขึ้นไปทุกด้านและองค์ประกอบต่าง ๆมีความสอดคล้องกันทุกข้อ&nbsp;</p>\n<p class=\"10\">3.&nbsp; นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ&nbsp; .05 ส่วนด้านทักษะทางภาษาอังกฤษมีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 80.99&nbsp; &nbsp;และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน มีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.80&nbsp;&nbsp; ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด</p>\n<p class=\"10\">4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากหลักสูตรที่สร้างขึ้นอยู่ในอยู่ระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n', created = 1715449686, expire = 1715536086, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:63ad0e4fe3c8bdff5a8cf3f7f8fd4cdf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านทุ่งคาเกรียน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ชื่อเรื่อง :  การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ  ชั้นประถมศึกษาปีที่  5 โรงเรียนเทศบาล  4 

               (บ้านทุ่งคาเกรียน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี

 ผู้วิจัย   :  สุพร เจียรชัย , โรงเรียนเทศบาล  4 (บ้านทุ่งคาเกรียน)  อำเภอบ้านนาสาร  จังหวัดสุ

               ราษฎร์ธานี   ปีการศึกษา  2560.

 

บทคัดย่อ

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาภาษาอังกฤษ  ชั้นประถมศึกษาปีที่  5 โรงเรียนเทศบาล  4  (บ้านทุ่งคาเกรียน) จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2)  สร้างและหาประสิทธิภาพหลักสูตร  3)  ทดลองใช้หลักสูตรที่สร้างขึ้น  และ 4)  ประเมินผลการใช้หลักสูตรที่สร้างขึ้น  โดยมีขั้นตอนในการดำเนินการวิจัย  ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่  5  ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559  จำนวน  57 คน    เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามความต้องการสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ  ชั้นประถมศึกษาปีที่  5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ (Percentage)  ค่าเฉลี่ย  () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา    

ขั้นตอนที่  2  การสร้างและหาประสิทธิภาพหลักสูตร แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จำนวน  5  คน เพื่อประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงร่างหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น   เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสมและความสอดคล้องของโครงร่างหลักสูตร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ  ค่าเฉลี่ย  () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)  

ขั้นตอนที่  3  การทดลองใช้หลักสูตรหลักสูตร  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ  นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5/2  ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560  จำนวน  31  คน     เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่  1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  2) แบบประเมินทักษะทางภาษาอังกฤษ  3) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การทดสอบค่าที (t-test)  แบบไม่เป็นอิสระและค่าเฉลี่ยร้อยละ (%)

ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผลการใช้หลักสูตร  แหล่งข้อมูลที่ใช้การวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  5/2  ที่ จำนวน  31  คน  ที่เรียนในหลักสูตรที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน  สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย  () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  () 

ผลการวิจัย พบว่า

1.  นักเรียนต้องการให้จัดทำสาระการเรียนรู้ในหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่  5  คือ 1) เนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูลของบุคคล 2)  เนื้อหาเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมรอบตัวเรา  3)  เนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมการซื้อขายสินค้าและเทศกาลวันสำคัญ และ 4) เนื้อหาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่ม มาใช้ในก  และต้องการให้ครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ที่มีเนื้อหาง่าย น่าสนใจสามารถนำไปใช้สื่อสารกับชาวต่างชาติ ได้จริง

2.  หลักสูตรที่สร้างขึ้นมีองค์ประกอบคือ  ความเป็นมาและความสำคัญของหลักสูตร หลักการของหลักสูตร จุดหมายของหลักสูตร  เกณฑ์การใช้หลักสูตร  คำอธิบายรายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้จำนวน  4  หน่วย  โครงสร้างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้   แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวทางการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 40 ชั่วโมง  หลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากขึ้นไปทุกด้านและองค์ประกอบต่าง ๆมีความสอดคล้องกันทุกข้อ 

3.  นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  .05 ส่วนด้านทักษะทางภาษาอังกฤษมีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 80.99   และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการเรียน มีคะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.80   ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนจากหลักสูตรที่สร้างขึ้นอยู่ในอยู่ระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 221 คน กำลังออนไลน์