• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('องค์การระหว่างประเทศ (องค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ-EU)', 'node/50246', '', '3.15.150.59', 0, '29b185d53890a009e369f88ce39f972a', 128, 1716161070) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:42fea8bb10edcc16af1caaa6343073b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อผลงาน</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทาง</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย</strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; วิญญา&nbsp;&nbsp; ระเบียบโอษฐ์</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>&nbsp;2560</p>\n<p align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p align=\"center\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์&nbsp; 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp;&nbsp; 2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นตามเกณฑ์ 80/80&nbsp;&nbsp; 3) &nbsp;เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp; ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์&nbsp; 4) ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่&nbsp;&nbsp; 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4&nbsp; 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 &nbsp;จำนวน 20 ข้อ&nbsp; 3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 ข้อ&nbsp; 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 50 ข้อ และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบไม่อิสระจากกัน (t – test Dependent) ค่าเฉลี่ย&nbsp; () และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard&nbsp; Deviation) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบไม่อิสระจากกันผลการวิจัยพบว่า&nbsp;&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.&nbsp;&nbsp; ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานในความต้องการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่นักเรียน</p>\n<p>&nbsp; ต้องการ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช &nbsp;เพราะนักเรียนต้องการเรียนรู้ จากสื่อการเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;และกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถกำหนดหรือเลือกวิธีหาความรู้ได้ตามความต้องการ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; และต้องการบรรยากาศในการเรียนที่สนุกสนาน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp; 2.&nbsp; การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ที่ผู้วิจัยใช้ชื่อเรียกว่า “QSCCS &nbsp;MODEL” &nbsp;มีองค์ประกอบคือใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;5 ขั้นตอนได้แก่ 1) ตั้งคำถาม (Learning To Question) 2) สืบค้นแสวงหา (Learning To Search) &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3) สร้างองค์ความรู้ (Learning To Construct)&nbsp;&nbsp; 4)&nbsp; เสนอสื่อสาร (Learning To Communicate)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;5) ขยายความรู้สู่สังคม (Learning To Service) ผลจากการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 5 &nbsp;คนด้านผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ต้องการให้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;มีประสิทธิภาพ 89.49/85.07 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ข้อที่ 1 ความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่านักเรียน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. </strong>ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 4 กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน ได้ค่าประสิทธิภาพ &nbsp;E<sub>1 </sub>/E<sub>2</sub> เท่ากับ &nbsp;84.54/83.76 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ &nbsp;เรื่องพืช ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 4&nbsp; คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>4. &nbsp;ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่&nbsp; 4 &nbsp;มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 &nbsp;อยู่ในระดับมาก</p>\n', created = 1716161080, expire = 1716247480, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:42fea8bb10edcc16af1caaa6343073b6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ชื่อผลงาน             การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทาง

                                วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

ผู้วิจัย                     วิญญา   ระเบียบโอษฐ์

                                ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ปีการศึกษา          2560

บทคัดย่อ

 

                       การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์  1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาข้อมูลพื้นฐานเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4   2) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่สร้างขึ้นตามเกณฑ์ 80/80   3)  เพื่อทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4      โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์  4) ประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2โรงเรียนเทศบาลวัดมเหยงคณ์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่   1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  จำนวน 20 ข้อ  3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 30 ข้อ  4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พืช กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 50 ข้อ และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบไม่อิสระจากกัน (t – test Dependent) ค่าเฉลี่ย  () และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard  Deviation) การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทีแบบไม่อิสระจากกันผลการวิจัยพบว่า  

                       1.   ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานในความต้องการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่นักเรียน

  ต้องการ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช  เพราะนักเรียนต้องการเรียนรู้ จากสื่อการเรียน                 และกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถกำหนดหรือเลือกวิธีหาความรู้ได้ตามความต้องการ             และต้องการบรรยากาศในการเรียนที่สนุกสนาน

                         2.  การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ที่ผู้วิจัยใช้ชื่อเรียกว่า “QSCCS  MODEL”  มีองค์ประกอบคือใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งมีกระบวนการเรียนการสอน          5 ขั้นตอนได้แก่ 1) ตั้งคำถาม (Learning To Question) 2) สืบค้นแสวงหา (Learning To Search)         3) สร้างองค์ความรู้ (Learning To Construct)   4)  เสนอสื่อสาร (Learning To Communicate)          5) ขยายความรู้สู่สังคม (Learning To Service) ผลจากการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ 5  คนด้านผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ต้องการให้พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4               มีประสิทธิภาพ 89.49/85.07 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด (80/80) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย       ข้อที่ 1 ความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียน        ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยพบว่านักเรียน           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความสามารถในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

                       3. ผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4 กับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน ได้ค่าประสิทธิภาพ  E1 /E2 เท่ากับ  84.54/83.76 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์  เรื่องพืช ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4  คะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

                                  4.  ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  4  มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้       เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4  อยู่ในระดับมาก

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 290 คน กำลังออนไลน์