• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d05e1167a32a39708737c26d33f5e614' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"Default\"><strong>ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย</strong></p>\n<p class=\"Default\"><strong>ชั้นประถมศึกษาปีที่</strong><strong> 3 </strong></p>\n<p class=\"Default\"><strong>ชื่อผู้วิจัย ธัญดา หนูพันธ์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช</strong></p>\n<p class=\"Default\"><strong>สังกัด สานักการศึกษา เทศบาลนครนครศรีธรรมราช</strong></p>\n<p class=\"Default\"><strong>ปีการศึกษา</strong><strong> 2558 </strong></p>\n<p class=\"Default\" align=\"center\"><strong>บทคัดย่อ</strong></p>\n<p class=\"Default\">รายงานการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน เรื่อง ตัวสะกด และคาควบกล้า โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3</p>\n<p class=\"Default\">กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 จานวน 30 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2. แผนการจัดการเรียนรู้ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t – test (Dependent Samples)</p>\n<p class=\"Default\"><strong>&nbsp;</strong></p>\n<p class=\"Default\"><strong>ผลการวิจัยพบว่า </strong></p>\n<p class=\"Default\">&nbsp;</p>\n<p class=\"Default\">1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 7 ชุด ได้เท่ากับ 83.38/82.89 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80</p>\n<p class=\"Default\">2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p>\n<p>3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยรวมเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด</p>\n', created = 1719817936, expire = 1719904336, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d05e1167a32a39708737c26d33f5e614' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงานการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ธัญดา หนูพันธ์

ชื่อเรื่อง รายงานการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

ชื่อผู้วิจัย ธัญดา หนูพันธ์ โรงเรียนนานาชาติเทศบาลนครนครศรีธรรมราช

สังกัด สานักการศึกษา เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

ปีการศึกษา 2558

บทคัดย่อ

รายงานการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียน เรื่อง ตัวสะกด และคาควบกล้า โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/1 จานวน 30 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2. แผนการจัดการเรียนรู้ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานโดยใช้ t – test (Dependent Samples)

 

ผลการวิจัยพบว่า

 

1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 7 ชุด ได้เท่ากับ 83.38/82.89 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านและการเขียนภาษาไทย โดยรวมเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 905 คน กำลังออนไลน์