• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5daa4407b1201c70a970e2a5dc23b729' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>ชื่อเรื่อง</strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียนโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย&nbsp;</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สำนักงานเขตสายไหม</p>\n<p><strong>ผู้วิจัย</strong>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นางสุนันท์&nbsp; วชิรมนตรี</p>\n<p><strong>ปีการศึกษา</strong>&nbsp; &nbsp;2556-2557</p>\n<p style=\"text-align: center;\">&nbsp;บทคัดย่อ</p>\n<p style=\"text-align: left;\" align=\"center\">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยสำนักงานเขตสายไหม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน &nbsp;2) ศึกษาผลที่เกิดจากรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 -6 3) ประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ตามความคิดเห็นของครู &nbsp;เกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมที่สร้างขึ้นก่อนและหลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม และ 4) สอบถามความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองเกี่ยวกับผลจากการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้เชี่ยวชาญการสร้างรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม จำนวน 8 คน ครูจำนวน 167 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนและผู้ปกครองใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ จาก &nbsp; &nbsp; &nbsp; ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejeie and Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 354 คน จากประชากรจำนวน 4,118 คน แต่การวิจัยครั้งนี้ใช้ระดับชั้นเป็นหน่วยการสุ่ม โดยสุ่มมาระดับชั้นละ 65 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 5 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู 2) แบบประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม 4 ) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู และ 5 ) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อผลที่เกิดขึ้นของนักเรียน ใช้ระยะเวลาในการวิจัย ปีการศึกษา 2556 ถึงปีการศึกษา 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p>\n<p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1.การสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน มี 6 ขั้น คือ 1 ) สร้างทีมงานทางวิชาการที่เข้มแข็ง 2 ) สร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 3) สร้างความเอาใจใส่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 4 ) สร้างความหลากหลายในการวัดผลและประเมินผล 5 ) สร้างระบบการนิเทศติดตามผล และ 6) สร้างความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและชุมชน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2.ผลที่เกิดจากรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู พบว่า โดยรวมครูมีพฤติกรรมการสอนมีระดับปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายข้อ ส่วนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพรวมปีการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2556 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 29 เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม มีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นสูงสุด &nbsp;ส่วนกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำสุด คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และศิลปะ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3.ผลการประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ตามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบ การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่สร้างขึ้น พบว่าก่อนการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมโดยภาพรวม ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้น พบว่า ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง หลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม โดยภาพรวมครูมีระดับปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นพบว่า ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกขั้น เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม พบว่า หลังการใช้รูปแบบครูมีระดับการปฏิบัติมากขึ้นทุกด้าน</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. ผลการสอบถามประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครอง เกี่ยวกับผลจากการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม พบว่า</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.1 ความพึงพอใจของครูต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน โดยภาพรวม ครูมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนสอนของครู โดยภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ</p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4.3 ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อผลที่เกิดกับนักเรียน พบว่า ผู้ปกครองมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวมและรายด้าน</p>\n', created = 1719628287, expire = 1719714687, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5daa4407b1201c70a970e2a5dc23b729' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียนโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย

ชื่อเรื่อง       รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียนโรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย 

                  สำนักงานเขตสายไหม

ผู้วิจัย          นางสุนันท์  วชิรมนตรี

ปีการศึกษา   2556-2557

 บทคัดย่อ

           การวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัยสำนักงานเขตสายไหม มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน  2) ศึกษาผลที่เกิดจากรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 -6 3) ประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ตามความคิดเห็นของครู  เกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมที่สร้างขึ้นก่อนและหลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม และ 4) สอบถามความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครองเกี่ยวกับผลจากการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้เชี่ยวชาญการสร้างรูปแบบการบริหารแบบมีส่วนร่วม จำนวน 8 คน ครูจำนวน 167 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนและผู้ปกครองใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ จาก       ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejeie and Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 354 คน จากประชากรจำนวน 4,118 คน แต่การวิจัยครั้งนี้ใช้ระดับชั้นเป็นหน่วยการสุ่ม โดยสุ่มมาระดับชั้นละ 65 คน รวมกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 5 ฉบับ ประกอบด้วย 1) แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนของครู 2) แบบประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม 4 ) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู และ 5 ) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อผลที่เกิดขึ้นของนักเรียน ใช้ระยะเวลาในการวิจัย ปีการศึกษา 2556 ถึงปีการศึกษา 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

              ผลการวิจัยพบว่า

                1.การสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน มี 6 ขั้น คือ 1 ) สร้างทีมงานทางวิชาการที่เข้มแข็ง 2 ) สร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 3) สร้างความเอาใจใส่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 4 ) สร้างความหลากหลายในการวัดผลและประเมินผล 5 ) สร้างระบบการนิเทศติดตามผล และ 6) สร้างความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและชุมชน

                2.ผลที่เกิดจากรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ด้านพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู พบว่า โดยรวมครูมีพฤติกรรมการสอนมีระดับปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายข้อ ส่วนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ของนักเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยภาพรวมปีการศึกษา 2557 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2556 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 29 เมื่อพิจารณาเป็นรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและวัฒนธรรม มีผลสัมฤทธิ์เพิ่มขึ้นสูงสุด  ส่วนกลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ต่ำสุด คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และศิลปะ

                3.ผลการประเมินรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน ตามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับองค์ประกอบของรูปแบบ การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่สร้างขึ้น พบว่าก่อนการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมโดยภาพรวม ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้น พบว่า ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง หลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม โดยภาพรวมครูมีระดับปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นพบว่า ครูมีระดับการปฏิบัติอยู่ในระดับมากทุกขั้น เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม พบว่า หลังการใช้รูปแบบครูมีระดับการปฏิบัติมากขึ้นทุกด้าน

                4. ผลการสอบถามประเมินความพึงพอใจของครู นักเรียน และผู้ปกครอง เกี่ยวกับผลจากการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม พบว่า

                                4.1 ความพึงพอใจของครูต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูและนักเรียน โดยภาพรวม ครูมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ

                                4.2 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนสอนของครู โดยภาพรวม นักเรียนมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุกข้อ

                                4.3 ความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อผลที่เกิดกับนักเรียน พบว่า ผู้ปกครองมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทั้งในภาพรวมและรายด้าน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 248 คน กำลังออนไลน์