• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ebb3c54963603f5baaf41a880a65dd80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #0000ff; font-size: medium\">5. ลำไส้เล็ก</span> \n</p>\n<h6><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\">    <strong>  <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #f20c91\">5.1 โครงสร้างของลำไส้เล็ก</span></span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></h6>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #f20c91\"></span></span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<h6>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #f20c91\">         ลำไส้เล็กของคนมีลักษณะคล้ายท่อขอไปขดมาอยู่ในช่องท้อง ยาวประมาณ 6–7 เมตร แบ่งเป็น 3 ตอน คือ</span> </span></h6>\n<h6><span style=\"font-size: small\"><br />\n           </span><span style=\"color: #b73bf6; font-size: small\"><strong>- ดูโอดินัม (Duodenum) ยาวประมาณ 30 cm มีรูปร่างคล้ายตัว ยู คลุมอยู่รอบๆ บริเวณส่วนหัวของตับอ่อน (Pancreas) ภายในดูโอดินัมมีต่อมสร้างน้ำย่อยและเป็นตำแหน่งที่ของเหลวจากตับอ่อนและน้ำดีจากตับมาเปิดเข้า จึงเป็นตำแหน่งที่มีการย่อยเกิดขึ้นมากที่สุด</strong></span></h6>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #b73bf6; font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<h6>\n           <strong>- เจจูนัม (Jejunum)</strong> ยาวประมาณ 2 ใน 5 ของลำไส้เล็กหรือประมาณ 2.5 เมตร เป็นตำแน่งที่มีการดูดซึมอาหารมากที่สุด ดังนั้นการดูดซึมอาศัย Villus , micro villus ที่ผิวด้านในของลำไส้เล็ก</h6>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h6>\n           <strong>-ไอเลียม (Ileum)</strong> เป็นลำไส้ส่วนท้ายยาวประมาณ 4 เมตร (ยาวที่สุด) ปลายสุดของไอเลียมต่อกับลำไส้ใหญ่ตามผนังของลำไส้เล็กมีต่อมเมือกอยู่มากทำให้อาหารลื่นและมีต่อมน้ำเหลืองคอยจับเชื้อโรค </h6>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<h6><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #b73bf6; font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></h6>\n<h6 align=\"center\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #b73bf6; font-size: small\"> <img height=\"496\" width=\"416\" src=\"/files/u4620/12_clip_image002_0002.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 364px; height: 254px\" /></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></h6>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\">   <span style=\"color: #f20c91\"> </span><strong><span style=\"color: #f20c91\"> <span style=\"color: #7f10ee\"> 5.2 การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก</span></span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #f20c91\"><span style=\"color: #7f10ee\"></span></span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n  <span style=\"color: #b73bf6\">การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก มี 2 วิธี</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #b73bf6\"></span></p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #b73bf6\">1. การย่อยเชิงกล ( Machanical digestion) มีแบบสำคัญ คือ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #b73bf6\"></span></p>\n<p>\n<br />\n           1.1 การหดตัวเป็นจังหวะ ( Rhythmic segmentation) เป็นการหดตัวที่ช่วยให้อาหารผสมคลุกเคล้ากับน้ำย่อย หรือ ช่วยไล่อาหารให้เคลื่อนที่ไปยังทางเดินอาหารส่วนถัดไป\n</p>\n<p>\n<br />\n           1.2 เป็นการหดตัวของกล้ามเนื้อทางเดินอาหาร เป็นช่วงๆติดต่อกัน การเคลื่อนไหวแบบนี้จะช่วยผลักอารหรือบีบไล่อาหารให้เคลื่อนที่ต่อ\n</p>\n<p>\n<br />\n           <span style=\"color: #b73bf6\">1.3 น้ำดีจาก</span><span style=\"color: #1a87e4\">ตับ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #1a87e4\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<strong><span style=\"color: #1a87e4\">หน้าที่ของตับ</span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"color: #1a87e4\"></span></strong></p>\n<p>\n<br />\n        <span style=\"color: #1a87e4\"><strong>1. สร้างน้ำดี (Bile)</strong> และส่งน้ำดีไปเก็บที่ถุงน้ำดี ไขมันและโปรตีนที่ย่อยแล้วจะไปกระตุ้นเมือกลำไส้ให้สร้างฮอร์โมน ฮอร์โมนจะถูกส่งเข้าไปในกระแสเลือดออกฤทธิ์ที่ถุงน้ำดีบีบตัวน้ำดีจะไหลออกไปตามท่อเข้าสู่ดูโอดินัม น้ำดีมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ มีส่วนประกอบสำคัญ คือ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เกลือน้ำดี ประมาณ 8.7% ได้แก่ โซเดียมไกโคโคเลท และ โซเดียมเตาโรโคเลท เช่น    ทั้งสองได้จากการสลายของ ทำหน้าที่ช่วยให้ไขมันในอาหารผสมกับเอนไซม์ไลเปส ( lipase)  ช่วยให้ไลเปสจากตับอ่อนย่อยไขมันได้เป็นกรดไขมันกับกลีเซอรอล น้ำดีไม่จัดว่าเป็นน้ำย่อยหรืออนไซม์ เพราะไม่เป็นโปรตีนและไม่ได้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสกับไขมัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #1a87e4\"><br />\n        <strong>2. เป็นแหล่ง detoxyfication (กำจัดพิษ)</strong> ส่วนมากกำจัดยาและ alcohol เพราะมี SER และ mitrochondria มาก</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #1a87e4\"></span></p>\n<p>\n<br />\n        <strong>3. สะสมไกลโคเจน (สำรองให้ร่างกายใช้ )</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n        <strong>4. สะสม lipid</strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p>\n<br />\n        5. สะสม Fe2+\n</p>\n<p>\n<br />\n        6. สะสม Vitamin A , D , E , K , B12\n</p>\n<p>\n<br />\n        7. สะสม bile salt\n</p>\n<p>\n<br />\n        8. สะสม cholesterol\n</p>\n<p>\n<br />\n        9. เปลี่ยน Vitamin D ให้เป็น active\n</p>\n<p>\n<br />\n       10. สร้าง nonessential amino acid\n</p>\n<p>\n<br />\n       11. สร้าง nonessential fatty acid\n</p>\n<p>\n<br />\n       12. สร้าง RBC ตอนอยู่ในครรภ์\n</p>\n<p>\n<br />\n       13. ทำลาย RBC หลังคลอดโดยทำงานร่วมกับม้าม\n</p>\n<p>\n<br />\n       14. สร้าง albumin ทำหน้าที่ ปรับosmotic pressure ของเลือด และ ปรับ pH\n</p>\n<p>\n<br />\n       15. สร้าง globulin (ภูมิคุ้มกัน )\n</p>\n<p>\n<br />\n       16. เปลี่ยนสารที่ไม่ใช่ carbohydrate ให้เป็นน้ำตาล (เวลางดอาหาร )\n</p>\n<p>\n<br />\n       17. เปลี่ยน lactic acid \Z น้ำตาล เพื่อลดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ\n</p>\n<p>\n<br />\n       18. สร้าง Clotting factor\n</p>\n<p>\n<br />\n       19. เป็นแอ่งพักเลือดและทยอยปล่อยให้หลอดเลือด\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><u>หน้าที่ของ gall bladder</u></span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n          <span style=\"color: #ff6600\"> 1. พักน้ำดี</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\">           2. ดึงน้ำออกจากน้ำดี ดังนั้น น้ำดีเข้มข้นขึ้น </span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">2. การย่อยทางเคมี ( Chemical digestion ) บริเวณดูโอดินัม จะมีน้ำย่อยจากแหล่งต่างๆดังนี้</span> </span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong>   <span style=\"color: #0000ff\">2.1 สารเคมีและเอนไซม์จากตับอ่อน ตับอ่อนทำหน้าที่ 2 ประการ </span><span style=\"color: #0000ff\">คือ เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอน เป็นต่อมมีท่อสร้างเอนไซม์และสารอาหารช่วยย่อยอาหารHCl จากกระเพาะอาหารจะกระตุ้นลำไส้เล็กสร้าง ฮอร์โมนที่จะกระตุ้นให้ตับอ่อนหลั่งสารต่างๆ</span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #0000ff\"> 1. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต</span> <span style=\"color: #3366ff\">มีฤทธิ์เป็นเบส ช่วยเปลี่ยนสารอาหารที่ฤทธิ์เป็นกรดจากกระเพาะอาหาร ให้เป็นกลางหรือด่างอ่อนๆ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #0000ff\"> 2. เอนไซม์อะไมเลส</span> <span style=\"color: #3366ff\">ทำหน้าที่ เหมือนอะไมเลสในน้ำลายทำให้เดกซ์ตรินแตกตัวเป็นมอลโตส</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"color: #0000ff\">3. เอนไซม์ไลเปส</span><span style=\"color: #0000ff\"> หรือ สตีฟซิน</span> <span style=\"color: #3366ff\">ทำหน้าทื่ ย่อยไขมัน ถ้าขาดเอนไซม์นี้จะทำให้ไขมันถูกขับออกทางอุจจาระมาก ไลเปสจะย่อยไขมันเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล โดยทำงานได้ดีที่ pH = 8.0</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"color: #0000ff\">4. เอนไซม์ที่ย่อยโปรตีน</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #0000ff\"> - Trypsinogen</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงาน ต้องอาศัยเอนไซม์เอนเทอโรไคเนส ( Enterokinase)<br />\nจากต่อมที่ผนังลำไส้เล็กเปลี่ยนเป็นทริปซิน ( Trypsin) ก่อน จึงจะย่อยโปรตีนแบบสุ่มที่ถูกย่อยมาแล้วจากกระเพาะให้เป็นไดเพปไทด์และโพลีเพปไทด์ขนาดเล็ก </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #0000ff\"> - Chymotrypsinogen</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงานต้องอาศัยการกระตุ่นจากทริปซินเปลี่ยนให้เป็นไคโมทริปซินก่อน แล้ว จึงย่อยโปรตีนแบบสุ่ม</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n        <span style=\"color: #0000ff\">- Procarboxypeptidase</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงานต้องอาศัยทริปซินหรือเอนเทอโรไคเนส ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยนให้เป็นคาร์บอกซีเพปไทเดสก่อน แล้วจะย่อยโปรตีนตรงปลายสุดทางด้านที่มีหมู่คาร์บอกซิล เกาะอยู่ไปทางหมู่อะมิโน ทำให้ได้กรดอะมิโนหลุดออกมาจากโปรตีนทีละตัว </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #0000ff\"> 5. เอนไซม์ย่อยสารพันธุกรรม</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n      <span style=\"color: #3366ff\">  - ribonuclease ย่อย RNA </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">        - deoxyribonuclease ย่อย DNA</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">3.2  สารเคมีและเอนไซม์ของลำไส้เล็ก</span></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"><strong></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #0000ff\"> 1. เอนเทอโรไคเนส</span> <span style=\"color: #3366ff\">ช่วยในการเปลี่ยนทริปซิโนเจน และ โปรคาร์บอกซีเพปไทเดส จากตับอ่อนให้เป็นทริปซิน และ คาร์บอกซีเพปไทเดส </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n        <span style=\"color: #0000ff\">2. เอนไซม์ที่ย่อยคาร์โบไฮเดรต</span> <span style=\"color: #3366ff\">ได้แก่ เอนไซม์ย่อยน้ำตาลในโมเลกุลคู่ ได้แก่ มอลเตส (Maltase) ซูเครส(Sucrase) และ แลกเตส ( Lactase ) </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                         <span style=\"color: #3366ff\">moltase ย่อย maltose \Z 2 glucose </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">                         sucrase ย่อย sucrase \Z glucose + fructose </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\">                         lactase ย่อย  lactose \Z glucose + galactose </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n        <span style=\"color: #0000ff\">3. เอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนจากลำไส้เล็ก</span> <span style=\"color: #3366ff\">ไม่สามารถย่อยโปรตีนที่กินเข้าไปได้โดยตรง แต่จะย่อยได้เฉพาะเพปไทด์ ซึ่งเป็นบางส่วนของโปรตีนที่ย่อยแล้ว น้ำย่อยเปไทด์จากลำไส้เล็ก เรียก เพปไทเดส</span> <span style=\"color: #3366ff\">( Peptidase) ซึ่งมีชนิดต่างๆคือ </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #0000ff\"> - อะมิโนเพปไทเดส ( Aminopeptidase )</span> <span style=\"color: #3366ff\">จะย่อยสลายเพปไทด์ทางด้านปลายสุดที่มีหมู่อะมิโนให้เป็นกรดอะมิโนและเพปไทด์ขนาดสั้นลง </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">          - ไทรเพปไทด์เดส ( Tripeptidase )</span> <span style=\"color: #3366ff\">จะย่อยไตรเพปไทด์ ( Tripeptide ) ให้เป็นไดเพปไทด์ และ กรดอะมิโน </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #0000ff\"> - ไดเพปไทเดส  ( Dipeptidase )</span> <span style=\"color: #3366ff\">จะย่อยไดเพปไทด์ ( Dipeptide ) ให้เป็นกรดอะมิโน 2 โมเลกุล</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #33cccc\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #808000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #1a87e4\"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>\n', created = 1715245242, expire = 1715331642, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ebb3c54963603f5baaf41a880a65dd80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบการย่อยอาหาร

5. ลำไส้เล็ก

      5.1 โครงสร้างของลำไส้เล็ก

         ลำไส้เล็กของคนมีลักษณะคล้ายท่อขอไปขดมาอยู่ในช่องท้อง ยาวประมาณ 6–7 เมตร แบ่งเป็น 3 ตอน คือ 

          
- ดูโอดินัม (Duodenum) ยาวประมาณ 30 cm มีรูปร่างคล้ายตัว ยู คลุมอยู่รอบๆ บริเวณส่วนหัวของตับอ่อน (Pancreas) ภายในดูโอดินัมมีต่อมสร้างน้ำย่อยและเป็นตำแหน่งที่ของเหลวจากตับอ่อนและน้ำดีจากตับมาเปิดเข้า จึงเป็นตำแหน่งที่มีการย่อยเกิดขึ้นมากที่สุด

           - เจจูนัม (Jejunum) ยาวประมาณ 2 ใน 5 ของลำไส้เล็กหรือประมาณ 2.5 เมตร เป็นตำแน่งที่มีการดูดซึมอาหารมากที่สุด ดังนั้นการดูดซึมอาศัย Villus , micro villus ที่ผิวด้านในของลำไส้เล็ก

 

           -ไอเลียม (Ileum) เป็นลำไส้ส่วนท้ายยาวประมาณ 4 เมตร (ยาวที่สุด) ปลายสุดของไอเลียมต่อกับลำไส้ใหญ่ตามผนังของลำไส้เล็กมีต่อมเมือกอยู่มากทำให้อาหารลื่นและมีต่อมน้ำเหลืองคอยจับเชื้อโรค

 

 

      5.2 การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก


  การย่อยอาหารในลำไส้เล็ก มี 2 วิธี


       1. การย่อยเชิงกล ( Machanical digestion) มีแบบสำคัญ คือ


           1.1 การหดตัวเป็นจังหวะ ( Rhythmic segmentation) เป็นการหดตัวที่ช่วยให้อาหารผสมคลุกเคล้ากับน้ำย่อย หรือ ช่วยไล่อาหารให้เคลื่อนที่ไปยังทางเดินอาหารส่วนถัดไป


           1.2 เป็นการหดตัวของกล้ามเนื้อทางเดินอาหาร เป็นช่วงๆติดต่อกัน การเคลื่อนไหวแบบนี้จะช่วยผลักอารหรือบีบไล่อาหารให้เคลื่อนที่ต่อ


           1.3 น้ำดีจากตับ


หน้าที่ของตับ


        1. สร้างน้ำดี (Bile) และส่งน้ำดีไปเก็บที่ถุงน้ำดี ไขมันและโปรตีนที่ย่อยแล้วจะไปกระตุ้นเมือกลำไส้ให้สร้างฮอร์โมน ฮอร์โมนจะถูกส่งเข้าไปในกระแสเลือดออกฤทธิ์ที่ถุงน้ำดีบีบตัวน้ำดีจะไหลออกไปตามท่อเข้าสู่ดูโอดินัม น้ำดีมีฤทธิ์เป็นเบสอ่อนๆ มีส่วนประกอบสำคัญ คือ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เกลือน้ำดี ประมาณ 8.7% ได้แก่ โซเดียมไกโคโคเลท และ โซเดียมเตาโรโคเลท เช่น    ทั้งสองได้จากการสลายของ ทำหน้าที่ช่วยให้ไขมันในอาหารผสมกับเอนไซม์ไลเปส ( lipase)  ช่วยให้ไลเปสจากตับอ่อนย่อยไขมันได้เป็นกรดไขมันกับกลีเซอรอล น้ำดีไม่จัดว่าเป็นน้ำย่อยหรืออนไซม์ เพราะไม่เป็นโปรตีนและไม่ได้เกิดปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสกับไขมัน


        2. เป็นแหล่ง detoxyfication (กำจัดพิษ) ส่วนมากกำจัดยาและ alcohol เพราะมี SER และ mitrochondria มาก


        3. สะสมไกลโคเจน (สำรองให้ร่างกายใช้ )


        4. สะสม lipid


        5. สะสม Fe2+


        6. สะสม Vitamin A , D , E , K , B12


        7. สะสม bile salt


        8. สะสม cholesterol


        9. เปลี่ยน Vitamin D ให้เป็น active


       10. สร้าง nonessential amino acid


       11. สร้าง nonessential fatty acid


       12. สร้าง RBC ตอนอยู่ในครรภ์


       13. ทำลาย RBC หลังคลอดโดยทำงานร่วมกับม้าม


       14. สร้าง albumin ทำหน้าที่ ปรับosmotic pressure ของเลือด และ ปรับ pH


       15. สร้าง globulin (ภูมิคุ้มกัน )


       16. เปลี่ยนสารที่ไม่ใช่ carbohydrate ให้เป็นน้ำตาล (เวลางดอาหาร )


       17. เปลี่ยน lactic acid  น้ำตาล เพื่อลดความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ


       18. สร้าง Clotting factor


       19. เป็นแอ่งพักเลือดและทยอยปล่อยให้หลอดเลือด

หน้าที่ของ gall bladder


           1. พักน้ำดี


           2. ดึงน้ำออกจากน้ำดี ดังนั้น น้ำดีเข้มข้นขึ้น

2. การย่อยทางเคมี ( Chemical digestion ) บริเวณดูโอดินัม จะมีน้ำย่อยจากแหล่งต่างๆดังนี้

   2.1 สารเคมีและเอนไซม์จากตับอ่อน ตับอ่อนทำหน้าที่ 2 ประการ คือ เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างฮอร์โมนอินซูลินและกลูคากอน เป็นต่อมมีท่อสร้างเอนไซม์และสารอาหารช่วยย่อยอาหารHCl จากกระเพาะอาหารจะกระตุ้นลำไส้เล็กสร้าง ฮอร์โมนที่จะกระตุ้นให้ตับอ่อนหลั่งสารต่างๆ


     1. โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต มีฤทธิ์เป็นเบส ช่วยเปลี่ยนสารอาหารที่ฤทธิ์เป็นกรดจากกระเพาะอาหาร ให้เป็นกลางหรือด่างอ่อนๆ


     2. เอนไซม์อะไมเลส ทำหน้าที่ เหมือนอะไมเลสในน้ำลายทำให้เดกซ์ตรินแตกตัวเป็นมอลโตส


     3. เอนไซม์ไลเปส หรือ สตีฟซิน ทำหน้าทื่ ย่อยไขมัน ถ้าขาดเอนไซม์นี้จะทำให้ไขมันถูกขับออกทางอุจจาระมาก ไลเปสจะย่อยไขมันเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล โดยทำงานได้ดีที่ pH = 8.0


     4. เอนไซม์ที่ย่อยโปรตีน


        - Trypsinogen เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงาน ต้องอาศัยเอนไซม์เอนเทอโรไคเนส ( Enterokinase)
จากต่อมที่ผนังลำไส้เล็กเปลี่ยนเป็นทริปซิน ( Trypsin) ก่อน จึงจะย่อยโปรตีนแบบสุ่มที่ถูกย่อยมาแล้วจากกระเพาะให้เป็นไดเพปไทด์และโพลีเพปไทด์ขนาดเล็ก


        - Chymotrypsinogen เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงานต้องอาศัยการกระตุ่นจากทริปซินเปลี่ยนให้เป็นไคโมทริปซินก่อน แล้ว จึงย่อยโปรตีนแบบสุ่ม


        - Procarboxypeptidase เป็นเอนไซม์ที่ยังไม่พร้อมทำงานต้องอาศัยทริปซินหรือเอนเทอโรไคเนส ตัวใดตัวหนึ่งเปลี่ยนให้เป็นคาร์บอกซีเพปไทเดสก่อน แล้วจะย่อยโปรตีนตรงปลายสุดทางด้านที่มีหมู่คาร์บอกซิล เกาะอยู่ไปทางหมู่อะมิโน ทำให้ได้กรดอะมิโนหลุดออกมาจากโปรตีนทีละตัว


     5. เอนไซม์ย่อยสารพันธุกรรม


        - ribonuclease ย่อย RNA


        - deoxyribonuclease ย่อย DNA

3.2  สารเคมีและเอนไซม์ของลำไส้เล็ก


        1. เอนเทอโรไคเนส ช่วยในการเปลี่ยนทริปซิโนเจน และ โปรคาร์บอกซีเพปไทเดส จากตับอ่อนให้เป็นทริปซิน และ คาร์บอกซีเพปไทเดส


        2. เอนไซม์ที่ย่อยคาร์โบไฮเดรต ได้แก่ เอนไซม์ย่อยน้ำตาลในโมเลกุลคู่ ได้แก่ มอลเตส (Maltase) ซูเครส(Sucrase) และ แลกเตส ( Lactase )


                         moltase ย่อย maltose  2 glucose


                         sucrase ย่อย sucrase  glucose + fructose


                         lactase ย่อย  lactose  glucose + galactose


        3. เอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนจากลำไส้เล็ก ไม่สามารถย่อยโปรตีนที่กินเข้าไปได้โดยตรง แต่จะย่อยได้เฉพาะเพปไทด์ ซึ่งเป็นบางส่วนของโปรตีนที่ย่อยแล้ว น้ำย่อยเปไทด์จากลำไส้เล็ก เรียก เพปไทเดส ( Peptidase) ซึ่งมีชนิดต่างๆคือ


          - อะมิโนเพปไทเดส ( Aminopeptidase ) จะย่อยสลายเพปไทด์ทางด้านปลายสุดที่มีหมู่อะมิโนให้เป็นกรดอะมิโนและเพปไทด์ขนาดสั้นลง


          - ไทรเพปไทด์เดส ( Tripeptidase ) จะย่อยไตรเพปไทด์ ( Tripeptide ) ให้เป็นไดเพปไทด์ และ กรดอะมิโน


          - ไดเพปไทเดส  ( Dipeptidase ) จะย่อยไดเพปไทด์ ( Dipeptide ) ให้เป็นกรดอะมิโน 2 โมเลกุล

สร้างโดย: 
อาจารย์ สมบูรณ์ กมลาสนางกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 323 คน กำลังออนไลน์