• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a3eaf9506ae9fecb31e5b3c88dff4c1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #008080; font-size: medium\">1.2 การย่อยเชิงเคมี อาศัย enzyme จากต่อมน้ำลาย </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">      <span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6666\">ต่อมน้ำลาย</span></strong></span> <span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff6666\"><strong>เป็น ต่อมมีท่อ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทางเดินอาหาร ทำหน้าที่ สร้างน้ำลายแล้วจะขับเข้าไปในปากทางท่อน้ำลาย น้ำลายที่สร้างขึ้นมามี 2 ชนิด คือ ชนิดใส และ ชนิดเหนียว ต่อมน้ำลาย มีทั้งหมด 3 คู่</strong> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">      <span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6666\">คู่ที่ 1 ต่อมพาโรติด (Porotid gland)</span></strong></span> <span style=\"color: #ff9900\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">ใหญ่ที่สุดบริเวณกกหู ทั้ง 2 ข้าง สร้างน้ำลาย ชนิดใส  อย่างเดียว ถ้าต่อมนี้เกิดการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส บริเวณข้างกกหูจะบวมแดง เรียกว่า โรคคางทูม อาการคือปากเบี้ยว หน้าเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท และตาทั้ง 2 ข้าง กระพริบไม่เท่ากัน </span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">      <span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6666\">คู่ที่ 2 ต่อมใต้ขากรรไกร (Submaxillay gland)</span></strong></span> <span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong>สร้างน้ำลายทั้งชนิด เหนียว และ ใส แต่มีชนิดใสมากกว่า </strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">      <span style=\"color: #ff6600\"><strong><span style=\"color: #ff6666\">คู่ที่ 3 ต่อมใต้ลิ้น (Sublingual </span><span style=\"color: #ff6600\">gland)</span></strong></span> <span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong>สร้างน้ำลายได้มากที่สุดชนิดเหนียว และใส แต่สร้างชนิดเหนียวได้มากกว่า</strong></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">           <span style=\"color: #ff6666\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><strong><u><span style=\"color: #ff6600\">ลักษณะทั่วไปของน้ำลาย</span></u></strong></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">          <span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff9900\"> <span style=\"color: #ff6600\">- <span style=\"color: #ff9900\">น้ำลายหลั่งประมาณ 1.5 ลิตร/วัน </span></span></span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">           - pH ประมาณ 6.0 - 7.5 </span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">           - หลั่งมากขึ้นเมื่อมีการนึกถึงอาหาร เคี้ยว ได้กลิ่นอาหาร </span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff9900\">           - ประกอบด้วย น้ำ , สารอิเล็กโทรไลต์,สารlysozyme คอยกำจัดเชื้อโรค โดยการย่อย cell wall mucous ( เมือกใส )  หลั่งมากตื่นเต้น serous (เมือกใส) หลั่งภาวะปกติ amylase ย่อยแป้ง</span></strong> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #ff0000; font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">2. Pharynx คอหอย</span></strong></span></span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\">          <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>คอหอย</strong></span></span> <span style=\"color: #ff0000\">คือ ช่องว่างบริเวณที่ติดต่อระหว่างรูจมูกด้านในท่อยูสเตเซียน จากหูส่วนกลาง ปาก กล่องเสียง และ หลอดอาหาร เป็นส่วนที่ทางเดินอาหารบรรจบกับทางเดินหายใจ อาหาร และ อากาศผ่านแต่ละคนจังหวะ </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">           <span style=\"color: #ff0000\"><u><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ประกอบด้วย</strong></span></u></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">        <span style=\"color: #ff0000\"><strong>1. เพดานปากชนิดอ่อน</strong></span> <span style=\"color: #fa5041\">ทำหน้าที่ ปิดกั้นอาหารไม่ให้ผ่านเข้าโพรงจมูกขณะกลืน มี taste bud,ลิ้นไก่ (uvula) ไปด้านหลังทั้ง 2 ข้าง มี คอยดักสิ่ง</span><span style=\"color: #fa5041\">แปลกปลอม</span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">        <span style=\"color: #ff0000\"><strong>2. ลิ้น (fongue)</strong></span> <span style=\"color: #fa5041\">ทำหน้าที่ คลุกเคล้าอาหาร ออกเสียง และช่วยในการกลืนน้ำลาย มีแกนกลางเป็นกล้ามเนื้อลาย ทำให้บังคับภายใต้อำนาจจิตใจได้ มี  tastbud รับ รส 4 รส คือ หวาน เค็ม เปรี้ยว ขม (ความเผ็ดไม่ใช่รส เป็นความร้อน) ไปด้านหลัง 2 ข้าง มี lingual tonsil </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">        <span style=\"color: #ff0000\"><strong>3. ฝาปิดกล่องเสียง (Epiglottis)</strong></span> <span style=\"color: #fa5041\">ขณะกลืนอาหาร ลิ้นจะดันอาหารไปด้านหลังของช่องปาก อาหารจะดันลิ้นไก่ และเพดานอ่อนขึ้นด้านบนปิดกั้นทางเดินของลมหายใจ เพื่อป้องกันอาหารไม่ให้เข้าสู่โพรงจมูก จากนั้น อาหารจะเคลื่อนเข้าสู่หลอดอาหาร โดยอาศัย การบีบตัวของกล้ามเนื้อที่ผนังคอหอย อาหารจะไม่เข้าหลอดลม โดยกล่องเสียง (larynx) ถูกยกตัวขึ้นไปชนฝาปิดกล่องเสียง ซึ่งเป้นกระดูกอ่อนเปิดของกล่องเสียง </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">  <span style=\"color: #ff0000\"><strong>* การสำลัก คือ การที่ epiglottis ปิดไม่ทัน ทำให้อาหารตกสู่หลอดลม *</strong></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">          <span style=\"color: #fa5041\">อาหารที่เคี้ยวแล้วคลุกเคล้ากับน้ำลายแล้วจะมีลักษณะเป็นก้อนลื่นๆ เรียก ก้อนbolus ผ่านไปที่ ขณะผ่าน   จะปิดหลอดลมไว้ แล้วเข้าสู่ (ไม่มีต่อมสร้างน้ำลาย) ผ่านอย่างรวดเร็ว แต่ก็มีการย่อยเเป้งด้วยน้ำลายต่อ </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"color: #0000ff; font-size: medium\">3. หลอดอาหาร</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><img height=\"474\" width=\"400\" src=\"/files/u4620/6666.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 300px; height: 324px\" /></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\">        <span style=\"color: #008000\"> </span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #008000\"><strong>หลอดอาหาร</strong></span> <span style=\"color: #339966\">เป็นท่อกล้ามเนื้อยาว ประมาณ 25 cm ไปสิ้นสุดที่กระเพาะอาหาร ลักษณะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการย่อยในหลอดอาหาร ได้แก่ </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"font-size: small\">         <span style=\"color: #339966\"> 1. หลอดอาหารไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อย ไม่มีการดูดซึม</span> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"font-size: small\">          <span style=\"color: #339966\">2. หลอดอาหารมีต่อมขับน้ำเมือก (Mocous) กระจายอยู่ทั่วไป น้ำเมือกเหนียวข้นที่หลั่งออกมา จะช่วยในการหล่อลื่นทำให้อาหารเคลื่อนผ่านได้สะดวก </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"font-size: small\">          <span style=\"color: #339966\">3. อาหารเคลื่อนที่ผ่านไปตามหลอดอาหารได้โดยการหดตัวของกล้ามเนี้อหลอดอาหาร ซึ่งจะหดตัวและคลายตัวเป็นจังหวะ เป็นช่วงๆต่อเนื่องกันไป เรียกว่า เพอริสตัสซิส ( Peristalsis ) ดังนี้น การย่อยอากหารที่เกินจากการกระทำของหลอดอาหารโดยตรง จึงมีเฉพาะการย่อยเชิงกลเท่านั้น </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"font-size: small\">    <span style=\"color: #008000\"> *ปลายสุดของหลอดอาหารจะมีหูรูดเรียก lower esophageal spincter (cadiac spincter) เปิดเพื่อให้ ตกลงสู่กระเพาะอาหารและรีบปิดเพื่อไม่ให้อาหารย้อนกลับ </span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #008000\">เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะ ความเป็นกรด HCl ในกระเพาะจะยับยั้งการย่อยแป้งของ  ให้สิ้นสุดลง*</span> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: small\"><span style=\"color: #fa5041; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span></p>\n', created = 1715262015, expire = 1715348415, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a3eaf9506ae9fecb31e5b3c88dff4c1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบการย่อยอาหาร

1.2 การย่อยเชิงเคมี อาศัย enzyme จากต่อมน้ำลาย

      ต่อมน้ำลาย เป็น ต่อมมีท่อ ที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทางเดินอาหาร ทำหน้าที่ สร้างน้ำลายแล้วจะขับเข้าไปในปากทางท่อน้ำลาย น้ำลายที่สร้างขึ้นมามี 2 ชนิด คือ ชนิดใส และ ชนิดเหนียว ต่อมน้ำลาย มีทั้งหมด 3 คู่

      คู่ที่ 1 ต่อมพาโรติด (Porotid gland) ใหญ่ที่สุดบริเวณกกหู ทั้ง 2 ข้าง สร้างน้ำลาย ชนิดใส  อย่างเดียว ถ้าต่อมนี้เกิดการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส บริเวณข้างกกหูจะบวมแดง เรียกว่า โรคคางทูม อาการคือปากเบี้ยว หน้าเบี้ยว ตาปิดไม่สนิท และตาทั้ง 2 ข้าง กระพริบไม่เท่ากัน

      คู่ที่ 2 ต่อมใต้ขากรรไกร (Submaxillay gland) สร้างน้ำลายทั้งชนิด เหนียว และ ใส แต่มีชนิดใสมากกว่า

      คู่ที่ 3 ต่อมใต้ลิ้น (Sublingual gland) สร้างน้ำลายได้มากที่สุดชนิดเหนียว และใส แต่สร้างชนิดเหนียวได้มากกว่า

           ลักษณะทั่วไปของน้ำลาย

           - น้ำลายหลั่งประมาณ 1.5 ลิตร/วัน

           - pH ประมาณ 6.0 - 7.5

           - หลั่งมากขึ้นเมื่อมีการนึกถึงอาหาร เคี้ยว ได้กลิ่นอาหาร

           - ประกอบด้วย น้ำ , สารอิเล็กโทรไลต์,สารlysozyme คอยกำจัดเชื้อโรค โดยการย่อย cell wall mucous ( เมือกใส )  หลั่งมากตื่นเต้น serous (เมือกใส) หลั่งภาวะปกติ amylase ย่อยแป้ง

2. Pharynx คอหอย

          คอหอย คือ ช่องว่างบริเวณที่ติดต่อระหว่างรูจมูกด้านในท่อยูสเตเซียน จากหูส่วนกลาง ปาก กล่องเสียง และ หลอดอาหาร เป็นส่วนที่ทางเดินอาหารบรรจบกับทางเดินหายใจ อาหาร และ อากาศผ่านแต่ละคนจังหวะ

           ประกอบด้วย

        1. เพดานปากชนิดอ่อน ทำหน้าที่ ปิดกั้นอาหารไม่ให้ผ่านเข้าโพรงจมูกขณะกลืน มี taste bud,ลิ้นไก่ (uvula) ไปด้านหลังทั้ง 2 ข้าง มี คอยดักสิ่งแปลกปลอม

        2. ลิ้น (fongue) ทำหน้าที่ คลุกเคล้าอาหาร ออกเสียง และช่วยในการกลืนน้ำลาย มีแกนกลางเป็นกล้ามเนื้อลาย ทำให้บังคับภายใต้อำนาจจิตใจได้ มี  tastbud รับ รส 4 รส คือ หวาน เค็ม เปรี้ยว ขม (ความเผ็ดไม่ใช่รส เป็นความร้อน) ไปด้านหลัง 2 ข้าง มี lingual tonsil

        3. ฝาปิดกล่องเสียง (Epiglottis) ขณะกลืนอาหาร ลิ้นจะดันอาหารไปด้านหลังของช่องปาก อาหารจะดันลิ้นไก่ และเพดานอ่อนขึ้นด้านบนปิดกั้นทางเดินของลมหายใจ เพื่อป้องกันอาหารไม่ให้เข้าสู่โพรงจมูก จากนั้น อาหารจะเคลื่อนเข้าสู่หลอดอาหาร โดยอาศัย การบีบตัวของกล้ามเนื้อที่ผนังคอหอย อาหารจะไม่เข้าหลอดลม โดยกล่องเสียง (larynx) ถูกยกตัวขึ้นไปชนฝาปิดกล่องเสียง ซึ่งเป้นกระดูกอ่อนเปิดของกล่องเสียง

  * การสำลัก คือ การที่ epiglottis ปิดไม่ทัน ทำให้อาหารตกสู่หลอดลม *

          อาหารที่เคี้ยวแล้วคลุกเคล้ากับน้ำลายแล้วจะมีลักษณะเป็นก้อนลื่นๆ เรียก ก้อนbolus ผ่านไปที่ ขณะผ่าน   จะปิดหลอดลมไว้ แล้วเข้าสู่ (ไม่มีต่อมสร้างน้ำลาย) ผ่านอย่างรวดเร็ว แต่ก็มีการย่อยเเป้งด้วยน้ำลายต่อ

3. หลอดอาหาร

         หลอดอาหาร เป็นท่อกล้ามเนื้อยาว ประมาณ 25 cm ไปสิ้นสุดที่กระเพาะอาหาร ลักษณะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการย่อยในหลอดอาหาร ได้แก่

          1. หลอดอาหารไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อย ไม่มีการดูดซึม

          2. หลอดอาหารมีต่อมขับน้ำเมือก (Mocous) กระจายอยู่ทั่วไป น้ำเมือกเหนียวข้นที่หลั่งออกมา จะช่วยในการหล่อลื่นทำให้อาหารเคลื่อนผ่านได้สะดวก

          3. อาหารเคลื่อนที่ผ่านไปตามหลอดอาหารได้โดยการหดตัวของกล้ามเนี้อหลอดอาหาร ซึ่งจะหดตัวและคลายตัวเป็นจังหวะ เป็นช่วงๆต่อเนื่องกันไป เรียกว่า เพอริสตัสซิส ( Peristalsis ) ดังนี้น การย่อยอากหารที่เกินจากการกระทำของหลอดอาหารโดยตรง จึงมีเฉพาะการย่อยเชิงกลเท่านั้น

     *ปลายสุดของหลอดอาหารจะมีหูรูดเรียก lower esophageal spincter (cadiac spincter) เปิดเพื่อให้ ตกลงสู่กระเพาะอาหารและรีบปิดเพื่อไม่ให้อาหารย้อนกลับ เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะ ความเป็นกรด HCl ในกระเพาะจะยับยั้งการย่อยแป้งของ  ให้สิ้นสุดลง*

สร้างโดย: 
อาจารย์ สมบูรณ์ กมลาสนางกูล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 441 คน กำลังออนไลน์