• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c823d383e9dac42d68a6eab0466732ff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">            พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด 92 พระองค์ โดย 36 พระองค์มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 56 พระองค์ไม่มี และพระองค์ทรงมีพระราชโอรส-ธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์<br />\nพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 โปรดให้สถาปนาพระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรีเป็นนางเธอฯ ในต้นรัชกาลนั้น และเลื่อนเป็นพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี เมื่อปี พ.ศ.2423 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระนางสุนันทากุมารีรัตน์สิ้นพระชนม์ ครั้น พ.ศ.2437 สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ มกุฎราชกุมารพระองค์แรกในกรุงสยามซึ่งเป็นพระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 อันประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี เสด็จทิวงคต พระพุทธเจ้าหลวงปิยมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ กรมขุนเทพทวาราวดี พระราชโอรสที่ประสูตแต่พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี เลื่อนขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแทน และโปรดเกล้าฯ ให้พระชนนีของมกุฎราชกุมารนั้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี </span></span> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff; font-size: small\">สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในรัชกา</span></span></span></span></span></strong></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">ลที่ 5 มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม 9 พระองค์คือ</span></strong> <br />\n</span>        1. สมเด็จเจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์ ในรัชกาลที่ 6 ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2421 แต่พระองค์สิ้นพระชนม์แค่พระชันษา 9 ปี <br />\n        2. สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ คือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2423 ต่อมาทรงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ตามลำดับ ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 <br />\n        3. สมเด็จเจ้าฟ้าตรีเพชรรุตมธำรง ประสูติเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2424 สิ้นพระชนม์เมื่อมีพระชันษาเพียง 7 พรรษา <br />\n        4. สมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ เป็นกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ต้นสกุลจักรพงษ์ ประสูติเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2425 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2463 <br />\n        5. สมเด็จเจ้าฟ้าศิริราชกุกุธภัณฑ์ ประสูติเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2428 สิ้นพระชนม์แต่พระชันษา 3 ปี <br />\n        6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์ในวันที่ประสูติ <br />\n        7. สมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางคเดชาวุธ เป็นกรมหลวงนครราชสีมา ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2432 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2467 <br />\n        8. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก เป็นกรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย ประสูติเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2435 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2466 <br />\n        9. สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิ์เดชน์ เป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2436 และเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 7 </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี ในรัชกาลที่ 5 มีพระนามเดิม “สว่างวัฒนา” ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม 8 พระองค์คือ</span></strong> <br />\n</span>        1.สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหาวชิรุณหิศฯสมเด็จพระบรมราชโอรสาธิราชสยามกุฎราชกุมาร ประสูติเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2421 สวรรคตเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2432 พระชนมายุได้ 16 พรรษาเศษ <br />\n        2. สมเด็จเจ้าฟ้าชายอิศริยาภรณ์ ประสูติเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ.2428 มีพระชนมายุได้เพียง 21 วัน ก็สิ้นพระชนม์ <br />\n        3. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวิจิตรจิรประภา ประสูติเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2424 มีพระชนมายุได้ 3 เดือน กับ 24 วันก็สิ้นพระชนม์ <br />\n        4. สมเด็จเจ้าฟ้าชายสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2425 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2442 มีพระชนม์มายุได้ 17 พรรษา <br />\n        5. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประสูติเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2427 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 มีพระชนม์มายุได้ 54 พรรษาเศษ <br />\n        6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงศิราภรณ์โสภณ ประสูติเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2431 สิ้นพระชนมเมื่อพระชนม์มายุได้ 9 พรรษา <br />\n        7. สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2434 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2470 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา นับว่าพระองค์มีพระบุญญาธิการอันยิ่งใหญ่ที่พระโอรสได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินถึง 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอนันทมหิดล รัชกาลที่ 8 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และต่อมาในรัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชบิดากรมหลวงสงขลานครินทรว่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศธ์อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และประกาศเฉลิมพรนามาภิไธย สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลว่า “สมเด็จพระศรีนครินทราพระบรมราชชนนี” <br />\n        8. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงประสูติได้ 3 วัน ก็สิ้นพระชนม์ </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5</span><br />\n</span></span></strong>            พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว เป็นตรางา ลักษณะกลมรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. โดยมีตรา พระเกี้ยว หรือ พระจุลมงกุฏ ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา และทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์เพชร โดยพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการเจริญรอยจำลองมาจากพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />\nการสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ &quot;จุฬาลงกรณ์&quot; ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ดังนั้น จึงเลือกใช้ พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715520987, expire = 1715607387, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c823d383e9dac42d68a6eab0466732ff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ไทย (รัชกาลที่ 5)

            พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมเหสี และ เจ้าจอม รวมทั้งหมด 92 พระองค์ โดย 36 พระองค์มีพระราชโอรส-ธิดา อีก 56 พระองค์ไม่มี และพระองค์ทรงมีพระราชโอรส-ธิดา รวมทั้งสิ้น 77 พระองค์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 โปรดให้สถาปนาพระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรีเป็นนางเธอฯ ในต้นรัชกาลนั้น และเลื่อนเป็นพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี เมื่อปี พ.ศ.2423 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระนางสุนันทากุมารีรัตน์สิ้นพระชนม์ ครั้น พ.ศ.2437 สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ มกุฎราชกุมารพระองค์แรกในกรุงสยามซึ่งเป็นพระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 อันประสูติแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี เสด็จทิวงคต พระพุทธเจ้าหลวงปิยมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ กรมขุนเทพทวาราวดี พระราชโอรสที่ประสูตแต่พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี เลื่อนขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแทน และโปรดเกล้าฯ ให้พระชนนีของมกุฎราชกุมารนั้นเป็นสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี 


สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 5 มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม 9 พระองค์คือ
        1. สมเด็จเจ้าฟ้าพาหุรัดมณีมัย เป็นกรมพระเทพนารีรัตน์ ในรัชกาลที่ 6 ประสูติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2421 แต่พระองค์สิ้นพระชนม์แค่พระชันษา 9 ปี
        2. สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ คือพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2423 ต่อมาทรงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเทพทวาราวดี และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ตามลำดับ ภายหลังเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
        3. สมเด็จเจ้าฟ้าตรีเพชรรุตมธำรง ประสูติเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2424 สิ้นพระชนม์เมื่อมีพระชันษาเพียง 7 พรรษา
        4. สมเด็จเจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ เป็นกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ต้นสกุลจักรพงษ์ ประสูติเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2425 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2463
        5. สมเด็จเจ้าฟ้าศิริราชกุกุธภัณฑ์ ประสูติเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2428 สิ้นพระชนม์แต่พระชันษา 3 ปี
        6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิง สิ้นพระชนม์ในวันที่ประสูติ
        7. สมเด็จเจ้าฟ้าอัษฎางคเดชาวุธ เป็นกรมหลวงนครราชสีมา ประสูติเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2432 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2467
        8. สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก เป็นกรมขุนเพชรบูรณ์อินทราชัย ประสูติเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2435 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2466
        9. สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิ์เดชน์ เป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา ประสูติเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2436 และเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นรัชกาลที่ 7

สมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี ในรัชกาลที่ 5 มีพระนามเดิม “สว่างวัฒนา” ทรงมีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม 8 พระองค์คือ
        1.สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหาวชิรุณหิศฯสมเด็จพระบรมราชโอรสาธิราชสยามกุฎราชกุมาร ประสูติเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2421 สวรรคตเมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2432 พระชนมายุได้ 16 พรรษาเศษ
        2. สมเด็จเจ้าฟ้าชายอิศริยาภรณ์ ประสูติเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ.2428 มีพระชนมายุได้เพียง 21 วัน ก็สิ้นพระชนม์
        3. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวิจิตรจิรประภา ประสูติเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2424 มีพระชนมายุได้ 3 เดือน กับ 24 วันก็สิ้นพระชนม์
        4. สมเด็จเจ้าฟ้าชายสมมติวงศ์วโรทัย กรมขุนศรีธรรมราชธำรงฤทธิ์ ประสูติเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2425 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2442 มีพระชนม์มายุได้ 17 พรรษา
        5. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ประสูติเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2427 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2481 มีพระชนม์มายุได้ 54 พรรษาเศษ
        6. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงศิราภรณ์โสภณ ประสูติเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2431 สิ้นพระชนมเมื่อพระชนม์มายุได้ 9 พรรษา
        7. สมเด็จเจ้าฟ้าชายมหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ประสูติเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2434 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2470 เมื่อมีพระชนมายุได้ 37 พรรษา นับว่าพระองค์มีพระบุญญาธิการอันยิ่งใหญ่ที่พระโอรสได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระเจ้าแผ่นดินถึง 2 พระองค์ คือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอนันทมหิดล รัชกาลที่ 8 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และต่อมาในรัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระราชบิดากรมหลวงสงขลานครินทรว่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศธ์อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และประกาศเฉลิมพรนามาภิไธย สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลว่า “สมเด็จพระศรีนครินทราพระบรมราชชนนี”
        8. สมเด็จเจ้าฟ้าหญิงประสูติได้ 3 วัน ก็สิ้นพระชนม์

พระราชลัญจกรประจำรัชกาลที่ 5
            พระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว เป็นตรางา ลักษณะกลมรี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. โดยมีตรา พระเกี้ยว หรือ พระจุลมงกุฏ ซึ่งประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า 2 ชั้น มีฉัตรบริวารตั้งขนาบทั้ง 2 ข้าง ถัดออกไปจะมีพานแว่นฟ้า 2 ชั้น ทางด้านซ้ายวางสมุดตำรา และทางด้านขวาวางพระแว่นสุริยกานต์เพชร โดยพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้นเป็นการเจริญรอยจำลองมาจากพระราชลัญจกรของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การสร้างพระลัญจกรประจำพระองค์นั้น จะใช้แนวคิดจากพระบรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ นั่นคือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ดังนั้น จึงเลือกใช้ พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ มาใช้เป็นพระราชลัญจกรประจำพระองค์

สร้างโดย: 
ijung

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 318 คน กำลังออนไลน์