• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:648bd4ff885ae9a3487fe172492aa06e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">           <span style=\"font-size: medium\">ด้านการพระศาสนาทรงทำนุบำรุงและจัดการให้เหมาะสมเจริญรุ่งเรือง ทรงสถาปนามหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดมหาธาตุ และมหามงกุฎราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อให้เป็นสถานศึกษาพระปริยัติธรรม และวิชาการชั้นสูง นอกจากนั้น ยังทรงสร้างวัดเทพศิรินทราวาส และวัดเบญจมบพิตร ซึ่งนับว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามยิ่งแห่งหนึ่งของกรุงเทพ ฯ   6 ธันวาคม พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดให้อาราธนาพระภิกษุสงฆ์จำนวน 33 รูป ซึ่งโปรดให้คัดเลือกไว้แล้ว และให้รวมฝึกอบรมอยู่ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ มาจำวัดที่วัดเบญจมบพิตร และในคราวนี้เองได้พระราชทานที่วัดเพิ่มเติม และสร้อยนามต่อท้ายชื่อวัดว่า &quot;ดุสิตวนาราม&quot; เรียกรวมกันว่า &quot;วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม&quot; เดิมวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดโบราณชื่อ &quot;วัดแหลม&quot; หรือ &quot;วัดไทรทอง&quot; ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างในสมัยใด ถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า &quot;วัดเบญจบพิตร&quot; ต่อมารัชกาลที่ 5 ได้ทรงประกาศสถาปนาวัดเบญจมบพิตรไปเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2442 และเริ่มบูรณะจนแล้วเสร็จในปี 2443</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><img height=\"127\" width=\"100\" src=\"/files/u4595/4.jpg\" border=\"0\" /></span></span></span></span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"> <span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\">วัดที่รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างมี 7 วัด ดังนี้</span></span></u><br />\n</span>1. วัดเทพศิรินทราวาส<br />\n2. วัดราชาธิวาส<br />\n3. วัดราชบพิธ<br />\n4. วัดเบญจมบพิตร<br />\n5. วัดนิเวศธรรมประวัติ<br />\n6. วัดอัษฎาคนิมิตร<br />\n7. วัดจุฑาทัศธรรมสภาราม</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">  <span style=\"font-size: medium\">  </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\">วัดที่รัชกาลที่ 5 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ มี 8 วัด ดังนี้</span><br />\n</span></span></u>1. วัดสระเกศ<br />\n2. วัดปฐมนิวาส<br />\n3. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />\n4. วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์<br />\n5. วัดมกุฏกษัตริยาราม<br />\n6. พระพุทธบาทสระบุรี<br />\n7. วัดสุวรรณคาราม<br />\n8. พระปฐมเจดีย์ (ทรงสร้างต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ) </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">   </span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><u><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">สถานศึกษาชั้นสูงทางศาสนาที่รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างมี 2 แห่งคือ</span></span></span></u><br />\n1. มหามกุฏราชวิทยาลัย<br />\n2. มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">    </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\">ผลงานพระราชนิพนธ์ทั้งหมด 10 เรื่อง</span></span><br />\n</span></u>1.  พระราชพิธี 12 เดือน<br />\n2.  ไกลบ้าน<br />\n3.  พระราชวิจารณ์<br />\n4.  เงาะป่า<br />\n5.  ลิลิตนิทราชาคริต<br />\n6.  เสด็จประพาสต้น<br />\n7.  วงศ์เทวราช<br />\n8.  กาพย์เห่เรือ<br />\n9.  ประชุมโคลงสุภาษิต<br />\n10. โคลงบรรยายภาพรามเกียรติ์</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">   </span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><u><span style=\"color: #0000ff\">กวีในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มี 8 พระองค์</span></u><br />\n</span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">1. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<br />\n2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป ประพันธ์พงศ์<br />\n3. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชาพร<br />\n4. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />\n5. พระยาศรีสุนทรโวหาร<br />\n6. หลวงธรรมมาภิมณฑ์ (ถึก จิตรกถึก)<br />\n7. เทียนวรรณ (ต.ว.ส. วิณณาโภ)<br />\n8. ก.ศ.ร. กุหลาบ (กุหลาบ รถกิจ) </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">  </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><u><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff\">มีช้างเผือกที่ค้นพบทั้งหมด 5 เชือก คือ</span></span></span><br />\n</span></span></span></span></u><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\">1. พระเศวตวรวรรณ<br />\n2. พระมหาพีรพรรณคชพงษ์<br />\n3. พระเศวตสุวภาพพรรณ<br />\n4. พระเทพคชรัตนกรินี<br />\n5. พระเศวตสุนทรสวัสดิ์</span> </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1715568951, expire = 1715655351, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:648bd4ff885ae9a3487fe172492aa06e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ไทย (รัชกาลที่ 5)

           ด้านการพระศาสนาทรงทำนุบำรุงและจัดการให้เหมาะสมเจริญรุ่งเรือง ทรงสถาปนามหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดมหาธาตุ และมหามงกุฎราชวิทยาลัยขึ้น ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อให้เป็นสถานศึกษาพระปริยัติธรรม และวิชาการชั้นสูง นอกจากนั้น ยังทรงสร้างวัดเทพศิรินทราวาส และวัดเบญจมบพิตร ซึ่งนับว่าเป็นสถาปัตยกรรมที่งดงามยิ่งแห่งหนึ่งของกรุงเทพ ฯ   6 ธันวาคม พ.ศ. 2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดให้อาราธนาพระภิกษุสงฆ์จำนวน 33 รูป ซึ่งโปรดให้คัดเลือกไว้แล้ว และให้รวมฝึกอบรมอยู่ที่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ มาจำวัดที่วัดเบญจมบพิตร และในคราวนี้เองได้พระราชทานที่วัดเพิ่มเติม และสร้อยนามต่อท้ายชื่อวัดว่า "ดุสิตวนาราม" เรียกรวมกันว่า "วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม" เดิมวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดโบราณชื่อ "วัดแหลม" หรือ "วัดไทรทอง" ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างในสมัยใด ถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ได้พระราชทานนามวัดใหม่ว่า "วัดเบญจบพิตร" ต่อมารัชกาลที่ 5 ได้ทรงประกาศสถาปนาวัดเบญจมบพิตรไปเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2442 และเริ่มบูรณะจนแล้วเสร็จในปี 2443

   วัดที่รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างมี 7 วัด ดังนี้
1. วัดเทพศิรินทราวาส
2. วัดราชาธิวาส
3. วัดราชบพิธ
4. วัดเบญจมบพิตร
5. วัดนิเวศธรรมประวัติ
6. วัดอัษฎาคนิมิตร
7. วัดจุฑาทัศธรรมสภาราม

    วัดที่รัชกาลที่ 5 ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ มี 8 วัด ดังนี้
1. วัดสระเกศ
2. วัดปฐมนิวาส
3. วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
4. วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
5. วัดมกุฏกษัตริยาราม
6. พระพุทธบาทสระบุรี
7. วัดสุวรรณคาราม
8. พระปฐมเจดีย์ (ทรงสร้างต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ)

   สถานศึกษาชั้นสูงทางศาสนาที่รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างมี 2 แห่งคือ
1. มหามกุฏราชวิทยาลัย
2. มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย


    ผลงานพระราชนิพนธ์ทั้งหมด 10 เรื่อง
1.  พระราชพิธี 12 เดือน
2.  ไกลบ้าน
3.  พระราชวิจารณ์
4.  เงาะป่า
5.  ลิลิตนิทราชาคริต
6.  เสด็จประพาสต้น
7.  วงศ์เทวราช
8.  กาพย์เห่เรือ
9.  ประชุมโคลงสุภาษิต
10. โคลงบรรยายภาพรามเกียรติ์

    กวีในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มี 8 พระองค์
1. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิป ประพันธ์พงศ์
3. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชาพร
4. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
5. พระยาศรีสุนทรโวหาร
6. หลวงธรรมมาภิมณฑ์ (ถึก จิตรกถึก)
7. เทียนวรรณ (ต.ว.ส. วิณณาโภ)
8. ก.ศ.ร. กุหลาบ (กุหลาบ รถกิจ)

   มีช้างเผือกที่ค้นพบทั้งหมด 5 เชือก คือ
1. พระเศวตวรวรรณ
2. พระมหาพีรพรรณคชพงษ์
3. พระเศวตสุวภาพพรรณ
4. พระเทพคชรัตนกรินี
5. พระเศวตสุนทรสวัสดิ์

สร้างโดย: 
ijung

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 368 คน กำลังออนไลน์