• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:eff0f9aacd510c68ac8b83a475c332b9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #008000\">การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)</span><br />\n</span></span></strong>         ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีพระราชปรารภว่า เงินภาษีอากรอันเป็นผลประโยชน์ของแผ่นดิน จัดเก็บกันไม่เป็นระเบียบกระจัดกระจายรั่วไหลไปมากมาย ในปี พ.ศ. 2416 จึงได้ตราพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ จุลศักราช 1235 และได้โปรดเกล้าตั้งสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้น เพื่อเป็นสำนักงานกลางสำหรับเก็บเงินผลประโยชน์รายได้ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ในที่แห่งเดียว มิให้แยกย้ายกระจัดกระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ดังที่เคยเป็นมาแต่ก่อน ให้หน่วยงานราชการทุกแห่ง นำส่งเงินผลประโยชน์เข้าสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นรายได้แผ่นดิน ให้มีพนักงานบัญชีกลางสำหรับรวบรวมบัญชีผลประโยชน์แผ่นดิน และตรวจตราการเก็บภาษีอากรของหน่วยงานต่างๆให้เป็นไปอย่างรัดกุม ไม่รั่วไหลดังแต่ก่อน ซึ่งนับเป็นต้นกำเนิดของกระทรวงการคลังในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2418ได้โปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติกรมพระคลังมหาสมบัติ จุลศักราช 1237 ตั้งกรมพระคลังมหาสมบัติ แยกงานการคลังออกจากงานการต่างประเทศ ซึ่งเวลานั้นรวมกันอยู่เป็นราชการในกรมท่า และต่อมาในปี พ.ศ. 2433 ได้ยกฐานะกรมพระคลังมหาสมบัติ เป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ตามพระธรรมนูญ หน้าที่ราชการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติรัตนโกสินทร์ศก 109 </span></span></span> </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">           ในด้านการจัดเก็บภาษี ได้โปรดให้เปลี่ยนแปลงวิธีการเก็บภาษีอากรเสียใหม่ จากระบบเจ้าภาษีนายอากร มาเป็นทางราชการเป็นผู้เก็บเอง โดยในช่วงแรกได้ทดลองให้เทศาภิบาลบางแห่งจัดเก็บภาษีอากรเอง ปรากฏว่าได้ผลดี สามารถจัดเก็บภาษีอากร ได้เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก จึงโปรดให้เลิกวิธีการเรียกประมูลรับเหมาผูกขาดเก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยสิ้นเชิง และให้เทศาภิบาลเก็บเองเหมือนกันหมดทุกมณฑล  ในด้านรายจ่าย พระองค์ได้ทรงวางพิกัดอัตราเงินเดือนให้แก่ข้าราชการตามตำแหน่งเป็นที่แน่นอนแทนเงินเบี้ยหวัดที่จ่ายแต่เดิม และยังพระราชทานเบี้ยบำนาญแก่ข้าราชการ เพื่อเป็นเครื่องเลี้ยง เมื่อรับราชการไม่ได้แล้ว โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2439 พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรกอันเป็นแบบฉบับที่จะต้องทำงบประมาณแผ่นดินขึ้น </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">            <span style=\"font-size: medium\"> นอกจากการปฏิรูปตามที่กล่าวมาข้างต้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกเลิกภาษีชนิดที่เป็นโทษแก่ราษฎร และภาษีอากรบางประเภทที่ทำรายได้ให้กับรัฐบาลไม่มากนัก และเป็นภาระแก่คนยากจน เช่น ภาษีอากรภายใน อากรบ่อนเบี้ย เป็นต้น (อากรบ่อนเบี้ย ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเลิกอากรบ่อนเบี้ย จ.ศ. 1249 (พ.ศ. 2430) โดยลดจำนวนบ่อนเบี้ยลงทุกปี และ ในที่สุดก็เลิกได้หมดทั่งราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2460 ในสมัยรัชกาลที่ 6) สำหรับบทบัญญัติของภาษีอากรที่ได้มีการตราขึ้นในรัชสมัยนี้ เป็นเพียงการแก้ไขปรับปรุงภาษีอากรที่มีอยู่เท่าเดิมนั้น มิได้มีการเพิ่มประเภทภาษีขึ้นใหม่แต่อย่างใด  </span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\">             <span style=\"font-size: medium\"> ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ นี้ เป็นระยะเวลาที่มหาอำนาจตะวันตกได้แผ่อำนาจมาทางเอเซียอาคเนีย์ หลายประเทศต้องตกเป็นเมืองขึ้นของมหาอำนาจตะวันตกแต่ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระปิยมหาราช พระองค์ได้ทรงยอมเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสถึง 5 ครั้ง และแก่อังกฤษ 1 ครั้ง เพื่อรักษาเอกราชของประเทศชาติเอาไว้     </span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\">ดังนี้ </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">การเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสในช่วงแรก พ.ศ.2410 – 2436 (ค.ศ.1867 – 1893) <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 1</span></span></span> เสียเขมรส่วนนอก พ.ศ.2410 (ค.ศ.1867) <br />\n       <span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 2</span></span></span> เสียแคว้นสิบสองจุไทย พ.ศ.2431 (ค.ศ.1888) <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 3</span></span></span> เสียหัวเมืองเงี้ยวทั้งห้าและหัวเมืองกระเหรี่ยงตะวันออก พ.ศ.2435 (ค.ศ.1892) <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 4</span></span></span> เสียดินแดนบนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง พ.ศ.2436 (ค.ศ.1893) </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">การเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสและอังกฤษในช่วงหลัง พ.ศ.2446 – 2452 (ค.ศ.1904-1909) ดังนี้ <br />\n    <span style=\"color: #ff00ff\">    <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 1</span></span></span></span> เสียฝั่งขวาของแม่น้ำโขง : มโนไพร จำปาศักดิ์ และหลวงพระบางบนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส พ.ศ2446 (ค.ศ.1904) <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 2</span></span></span> เสียมณฑลบูรพาให้แก่ฝรั่งเศส พ.ศ.2449 (ค.ศ.1907) <br />\n        <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff6600\">ครั้งที่ 3</span></span></span> เสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และประลิศให้อังกฤษ พ.ศ.2452 คิดเป็นเนื้อที่ ๆ เสียดินแดนไปประมาณ 518,700 ตารางกิโลเมตร </span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">        </span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"> พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงปฎิรูปการปกครองของประเทศไทย จากแผนโบราณมายังแผนอารยใหม่ทั้งหมด การที่พระองค์ทรงปฎิรูปการปกครองแบบแผนใหม่นี้ ก็เนื่องมาจากมูลเหตุบางประการคือ <br />\n1. มูลเหตุจากปัญหาภายนอกประเทศ คือในช่วงรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 5 ประเทศต่าง ๆ ที่อยู่รอบประเทศของเราในคาบสมุทรอินโดจีน ล้วนตกอยู่ภายใต้อิทธิพลการปกครองของประเทศมหาอำนาจตะวันตกคือ ฝรั่งเศสและอังกฤษ <br />\n2. มูลเหตุจากภายในประเทศ ประเทศไทยเรายังใช้ระบบแผนโบราณมาปกครองประเทศ ทำให้การบริหารงานปกครองแผ่นดินอืดอาดล่าช้า <br />\n        ก่อนการปฎิรูประเบียบการบริหารราชการแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นับตั้งแต่ พ.ศ.2435 นั้น ดินแดนที่ไทยเราปกครองอยู่แบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ ดินแดนที่เป็นของดั้งเดิมของไทย หรือดินแดนชั้นใน แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ หัวเมืองชั้นใน อันเป็นที่ตั้งราชธานีคือ กรุงเทพฯ หัวเมืองชั้นในนั้นต้องอยู่ภายในระยะที่จะติดต่อกันได้ภายใน 2 วัน กับหัวเมืองชั้นนอก ดินแดนใหม่ที่ได้ผนวกเข้ามาคือ เมืองประเทศราชนั่นเอง <br />\n• หัวเมืองชั้นในได้แก่ จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขัน์ กาญจนบุรี สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี สมุทรสาคม นครสวรรค์ ชัยนาท ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และนครนายก <br />\n• หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ หัวเมืองที่อยู่ถัดออกไปจากหัวเมืองชั้นในทั้งหมด แบ่งออกเป็นเมืองพระยามหานคร ซึ่งมีฐานะเป็นเมืองเอก โท ตรี <br />\n        ก่อนที่จะมีการปฎิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 รูปแบบการปกครองในสมัยก่อนได้มีเสนาบดี ตำแหน่งสูงสุด 3 ตำแหน่งคือ <br />\n1. สมุหนายก <br />\n2. สมุหกลาโหม <br />\n3. พระยาโกษาธิบดี </span></span></span></span></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         ในทางทฤษฎีนั้น อำนาจของเจ้าเมืองอยู่ภายใต้ขอบเขตตามที่พระราชกำหนดบัญญัติไว้ แต่ในทางปฎิบัติแล้ว อำนาจของเจ้าเมืองมีมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าเมืองที่อยู่ไกล ๆ ราชธานีออกไป และความสวามิภักดิ์ต่องค์พระมหากษัตริย์ซึ่งปกครองราชธานีก็มีเพียงแต่ผิวเผินเท่านั้น การปกครองบังคับบัญชาตลอดจนการปฎิบัติหน้าที่ของข้าแผ่นดินก็ปฎิบัติกันในรูปแบบหรือใช้ลัทธิเจ้าขุนมูลนาย เกิดช่องว่างกันมากระหว่างข้าราชการกับราษฎร </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญ ซึ่งเพียงพอที่จะชี้ให้เห็นความบกพร่องของการจัดระเบียบและการวางนโยบายการปกครองประเทศหลาย ๆ ด้าน และประกอบทั้งอารยธรรมของตะวันตกก็ได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศ พระองค์จึงได้ทรงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขการปกครองในส่วนกลาง ซึ่งเวลานั้นมีเพียง 6 กระทรวง และเพื่อให้เหมาะสมกับกาลสมัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของกระทรวงเพิ่มขึ้นอีก 4 กระทรวง เป็น 10 กระทรวง </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         งานขั้นต้นของการเลิกทาสได้เริ่มจริงจังขึ้นใน ปี พ.ศ.2417 โดยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชปรารถในที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เรื่องจะลดเกษียณอายุค่าตัวลูกทาส และจะให้บิดามารดาขายลูกได้ แต่ตามเกษียณอายุ ซึ่งจะตั้งขึ้นใหม่ ห้ามมิให้พ่อแม่ขายลูกเป็นเงินแพงกว่าที่กำหนดไว้ โดยกำหนดค่าตัวทาสไว้อย่างแน่นอนคือ ถ้าเป็นชายให้มีค่าตัว 8 ตำลึง ถ้าเป็นหญิงให้มีค่าตัวเต็ม 7 ตำลึง และเมื่ออายุครบ 21 ปี ให้ขาดจากการเป็นทาสทั้งหญิงและชาย ในที่สุด พระราชบัญญัติที่แท้จริงทั่วพระราชอาณาจักร คือ มีพระราชบัญญัติทาสรัตนโกสินทร์ ศก 124 (พ.ศ.2448) ในพระราชบัญญัติฉบับนี้เลิกเรื่องลูกทาสในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาสไม่เป็นลูกทาสอีกต่อไป นับแต่วันออกพระราชบัญญัติฉบับนี้ ห้ามการขายตัวลงเป็นทาส การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผุ้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว นายเงินต้องลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด ถ้ามีการโยกย้ายเปลี่ยนนายก็มิให้เพิ่มค่าตัวขึ้น </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         ต่อมาอีก 3 ปี เมื่อได้ประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาใน พ.ศ.2451 ก็มีบทบัญญัติวางโทษผู้ซื้อขายทาสเท่ากับโจรปล้นทรัพย์ คือ มีโทษจำคุกถึง 7 ปี </span></span> </span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         เหตุการณ์ในสมัยของพระองค์ที่สำคัญประการหนึ่งก็คือ การปราบฮ่อ ซึ่งพวกฮ่อนี้ก็คือคนจีนนั่นเอง แต่ชาวไทยทางเหนือเรียกว่า “ฮ่อ” ซึ่งจีนพวกนี้ได้ตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่า “คณะไต้เพ็ง” ได้ก่อการกบฏจะทำลายราชวงศ์แมนจู แต่กองทัพหลวงจีนได้ทำการปราบปราม พวกไต้เพ็งสุ้ไม่ได้จึงหนีถอยลงมาทางทิศใต้ มาตั้งอยู่ที่ทุ่งเชียงคำในแถบเมืองพวน เมื่อ พ.ศ.2417 แล้วเตรียมจะเข้าตีเมืองหลวงพระบาง ฝ่ายเจ้าเมืองหลวงพระบางกับกรมการเมืองหนองคาย จึงได้ส่งใบบอกมายังกรุงเทพฯ สมเด็จพระปิยมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดกองทัพออกไปทำการปราบปราม </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: small\">         การทหารเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศชาติ จึงได้ทรงโปรดเกล้าให้จัดการทหารตามแบบแผน และฝึกหัดยุทธวินัยของชาติยุโรปที่เจริญแล้ว พระองค์ได้จัดส่งพระราชโอรสออกไปศึกษาวิชาการทหารในทวีปยุโรปเพื่อนำเอาความรู้เข้ามาใช้ในประเทศของเรา พระองค์ได้ทรงประกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการทหารบก และ ทหารเรือขึ้นใน พ.ศ.2430 ได้ตราพระราชบัญญัติจัดการทหารต่อมาใน พ.ศ.2437 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกระทรวงกลาโหมขึ้น และได้ตราพระราชบัญญัติการเกณฑ์ทหารขึ้นใน พ.ศ.2448 เพื่อให้จัดการฝึกหัดอบรมวิชาการทหาร สำหรับป้องกันประเทศซึ่งได้ชั้ตลอดจนถึงสมัยปัจจุบันนี้ </span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715567607, expire = 1715654007, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:eff0f9aacd510c68ac8b83a475c332b9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์ไทย (รัชกาลที่ 5)

การจัดเก็บภาษีอากรในสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2453)
         ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีพระราชปรารภว่า เงินภาษีอากรอันเป็นผลประโยชน์ของแผ่นดิน จัดเก็บกันไม่เป็นระเบียบกระจัดกระจายรั่วไหลไปมากมาย ในปี พ.ศ. 2416 จึงได้ตราพระราชบัญญัติสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ จุลศักราช 1235 และได้โปรดเกล้าตั้งสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์ขึ้น เพื่อเป็นสำนักงานกลางสำหรับเก็บเงินผลประโยชน์รายได้ภาษีอากรของแผ่นดินมารวมไว้ในที่แห่งเดียว มิให้แยกย้ายกระจัดกระจายอยู่ตามหน่วยงานต่างๆ ดังที่เคยเป็นมาแต่ก่อน ให้หน่วยงานราชการทุกแห่ง นำส่งเงินผลประโยชน์เข้าสำหรับหอรัษฎากรพิพัฒน์เป็นรายได้แผ่นดิน ให้มีพนักงานบัญชีกลางสำหรับรวบรวมบัญชีผลประโยชน์แผ่นดิน และตรวจตราการเก็บภาษีอากรของหน่วยงานต่างๆให้เป็นไปอย่างรัดกุม ไม่รั่วไหลดังแต่ก่อน ซึ่งนับเป็นต้นกำเนิดของกระทรวงการคลังในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2418ได้โปรดเกล้าให้ตราพระราชบัญญัติกรมพระคลังมหาสมบัติ จุลศักราช 1237 ตั้งกรมพระคลังมหาสมบัติ แยกงานการคลังออกจากงานการต่างประเทศ ซึ่งเวลานั้นรวมกันอยู่เป็นราชการในกรมท่า และต่อมาในปี พ.ศ. 2433 ได้ยกฐานะกรมพระคลังมหาสมบัติ เป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ตามพระธรรมนูญ หน้าที่ราชการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติรัตนโกสินทร์ศก 109 


           ในด้านการจัดเก็บภาษี ได้โปรดให้เปลี่ยนแปลงวิธีการเก็บภาษีอากรเสียใหม่ จากระบบเจ้าภาษีนายอากร มาเป็นทางราชการเป็นผู้เก็บเอง โดยในช่วงแรกได้ทดลองให้เทศาภิบาลบางแห่งจัดเก็บภาษีอากรเอง ปรากฏว่าได้ผลดี สามารถจัดเก็บภาษีอากร ได้เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก จึงโปรดให้เลิกวิธีการเรียกประมูลรับเหมาผูกขาดเก็บภาษีอากรจากราษฎรโดยสิ้นเชิง และให้เทศาภิบาลเก็บเองเหมือนกันหมดทุกมณฑล  ในด้านรายจ่าย พระองค์ได้ทรงวางพิกัดอัตราเงินเดือนให้แก่ข้าราชการตามตำแหน่งเป็นที่แน่นอนแทนเงินเบี้ยหวัดที่จ่ายแต่เดิม และยังพระราชทานเบี้ยบำนาญแก่ข้าราชการ เพื่อเป็นเครื่องเลี้ยง เมื่อรับราชการไม่ได้แล้ว โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2439 พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดทำงบประมาณแผ่นดินขึ้นเป็นครั้งแรกอันเป็นแบบฉบับที่จะต้องทำงบประมาณแผ่นดินขึ้น


             นอกจากการปฏิรูปตามที่กล่าวมาข้างต้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกเลิกภาษีชนิดที่เป็นโทษแก่ราษฎร และภาษีอากรบางประเภทที่ทำรายได้ให้กับรัฐบาลไม่มากนัก และเป็นภาระแก่คนยากจน เช่น ภาษีอากรภายใน อากรบ่อนเบี้ย เป็นต้น (อากรบ่อนเบี้ย ได้มีการออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเลิกอากรบ่อนเบี้ย จ.ศ. 1249 (พ.ศ. 2430) โดยลดจำนวนบ่อนเบี้ยลงทุกปี และ ในที่สุดก็เลิกได้หมดทั่งราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2460 ในสมัยรัชกาลที่ 6) สำหรับบทบัญญัติของภาษีอากรที่ได้มีการตราขึ้นในรัชสมัยนี้ เป็นเพียงการแก้ไขปรับปรุงภาษีอากรที่มีอยู่เท่าเดิมนั้น มิได้มีการเพิ่มประเภทภาษีขึ้นใหม่แต่อย่างใด 


              ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ นี้ เป็นระยะเวลาที่มหาอำนาจตะวันตกได้แผ่อำนาจมาทางเอเซียอาคเนีย์ หลายประเทศต้องตกเป็นเมืองขึ้นของมหาอำนาจตะวันตกแต่ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระปิยมหาราช พระองค์ได้ทรงยอมเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสถึง 5 ครั้ง และแก่อังกฤษ 1 ครั้ง เพื่อรักษาเอกราชของประเทศชาติเอาไว้     ดังนี้

การเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสในช่วงแรก พ.ศ.2410 – 2436 (ค.ศ.1867 – 1893)
        ครั้งที่ 1 เสียเขมรส่วนนอก พ.ศ.2410 (ค.ศ.1867)
        ครั้งที่ 2 เสียแคว้นสิบสองจุไทย พ.ศ.2431 (ค.ศ.1888)
        ครั้งที่ 3 เสียหัวเมืองเงี้ยวทั้งห้าและหัวเมืองกระเหรี่ยงตะวันออก พ.ศ.2435 (ค.ศ.1892)
        ครั้งที่ 4 เสียดินแดนบนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง พ.ศ.2436 (ค.ศ.1893)


การเสียดินแดนให้แก่ฝรั่งเศสและอังกฤษในช่วงหลัง พ.ศ.2446 – 2452 (ค.ศ.1904-1909) ดังนี้
        ครั้งที่ 1 เสียฝั่งขวาของแม่น้ำโขง : มโนไพร จำปาศักดิ์ และหลวงพระบางบนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส พ.ศ2446 (ค.ศ.1904)
        ครั้งที่ 2 เสียมณฑลบูรพาให้แก่ฝรั่งเศส พ.ศ.2449 (ค.ศ.1907)
        ครั้งที่ 3 เสียรัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู และประลิศให้อังกฤษ พ.ศ.2452 คิดเป็นเนื้อที่ ๆ เสียดินแดนไปประมาณ 518,700 ตารางกิโลเมตร


         พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงปฎิรูปการปกครองของประเทศไทย จากแผนโบราณมายังแผนอารยใหม่ทั้งหมด การที่พระองค์ทรงปฎิรูปการปกครองแบบแผนใหม่นี้ ก็เนื่องมาจากมูลเหตุบางประการคือ
1. มูลเหตุจากปัญหาภายนอกประเทศ คือในช่วงรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 5 ประเทศต่าง ๆ ที่อยู่รอบประเทศของเราในคาบสมุทรอินโดจีน ล้วนตกอยู่ภายใต้อิทธิพลการปกครองของประเทศมหาอำนาจตะวันตกคือ ฝรั่งเศสและอังกฤษ
2. มูลเหตุจากภายในประเทศ ประเทศไทยเรายังใช้ระบบแผนโบราณมาปกครองประเทศ ทำให้การบริหารงานปกครองแผ่นดินอืดอาดล่าช้า
        ก่อนการปฎิรูประเบียบการบริหารราชการแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว นับตั้งแต่ พ.ศ.2435 นั้น ดินแดนที่ไทยเราปกครองอยู่แบ่งเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ ดินแดนที่เป็นของดั้งเดิมของไทย หรือดินแดนชั้นใน แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ หัวเมืองชั้นใน อันเป็นที่ตั้งราชธานีคือ กรุงเทพฯ หัวเมืองชั้นในนั้นต้องอยู่ภายในระยะที่จะติดต่อกันได้ภายใน 2 วัน กับหัวเมืองชั้นนอก ดินแดนใหม่ที่ได้ผนวกเข้ามาคือ เมืองประเทศราชนั่นเอง
• หัวเมืองชั้นในได้แก่ จังหวัดราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขัน์ กาญจนบุรี สมุทรสงคราม สุพรรณบุรี สมุทรสาคม นครสวรรค์ ชัยนาท ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และนครนายก
• หัวเมืองชั้นนอก ได้แก่ หัวเมืองที่อยู่ถัดออกไปจากหัวเมืองชั้นในทั้งหมด แบ่งออกเป็นเมืองพระยามหานคร ซึ่งมีฐานะเป็นเมืองเอก โท ตรี
        ก่อนที่จะมีการปฎิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 รูปแบบการปกครองในสมัยก่อนได้มีเสนาบดี ตำแหน่งสูงสุด 3 ตำแหน่งคือ
1. สมุหนายก
2. สมุหกลาโหม
3. พระยาโกษาธิบดี 


         ในทางทฤษฎีนั้น อำนาจของเจ้าเมืองอยู่ภายใต้ขอบเขตตามที่พระราชกำหนดบัญญัติไว้ แต่ในทางปฎิบัติแล้ว อำนาจของเจ้าเมืองมีมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าเมืองที่อยู่ไกล ๆ ราชธานีออกไป และความสวามิภักดิ์ต่องค์พระมหากษัตริย์ซึ่งปกครองราชธานีก็มีเพียงแต่ผิวเผินเท่านั้น การปกครองบังคับบัญชาตลอดจนการปฎิบัติหน้าที่ของข้าแผ่นดินก็ปฎิบัติกันในรูปแบบหรือใช้ลัทธิเจ้าขุนมูลนาย เกิดช่องว่างกันมากระหว่างข้าราชการกับราษฎร


         ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญ ซึ่งเพียงพอที่จะชี้ให้เห็นความบกพร่องของการจัดระเบียบและการวางนโยบายการปกครองประเทศหลาย ๆ ด้าน และประกอบทั้งอารยธรรมของตะวันตกก็ได้แพร่หลายเข้ามาในประเทศ พระองค์จึงได้ทรงเปลี่ยนแปลงและแก้ไขการปกครองในส่วนกลาง ซึ่งเวลานั้นมีเพียง 6 กระทรวง และเพื่อให้เหมาะสมกับกาลสมัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของกระทรวงเพิ่มขึ้นอีก 4 กระทรวง เป็น 10 กระทรวง


         งานขั้นต้นของการเลิกทาสได้เริ่มจริงจังขึ้นใน ปี พ.ศ.2417 โดยที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชปรารถในที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เรื่องจะลดเกษียณอายุค่าตัวลูกทาส และจะให้บิดามารดาขายลูกได้ แต่ตามเกษียณอายุ ซึ่งจะตั้งขึ้นใหม่ ห้ามมิให้พ่อแม่ขายลูกเป็นเงินแพงกว่าที่กำหนดไว้ โดยกำหนดค่าตัวทาสไว้อย่างแน่นอนคือ ถ้าเป็นชายให้มีค่าตัว 8 ตำลึง ถ้าเป็นหญิงให้มีค่าตัวเต็ม 7 ตำลึง และเมื่ออายุครบ 21 ปี ให้ขาดจากการเป็นทาสทั้งหญิงและชาย ในที่สุด พระราชบัญญัติที่แท้จริงทั่วพระราชอาณาจักร คือ มีพระราชบัญญัติทาสรัตนโกสินทร์ ศก 124 (พ.ศ.2448) ในพระราชบัญญัติฉบับนี้เลิกเรื่องลูกทาสในเรือนเบี้ยอย่างเด็ดขาด เด็กที่เกิดจากทาสไม่เป็นลูกทาสอีกต่อไป นับแต่วันออกพระราชบัญญัติฉบับนี้ ห้ามการขายตัวลงเป็นทาส การซื้อขายทาสเป็นโทษทางอาญา ส่วนผุ้ที่เป็นทาสอยู่แล้ว นายเงินต้องลดค่าตัวให้เดือนละ 4 บาท จนกว่าจะหมด ถ้ามีการโยกย้ายเปลี่ยนนายก็มิให้เพิ่มค่าตัวขึ้น

         ต่อมาอีก 3 ปี เมื่อได้ประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาใน พ.ศ.2451 ก็มีบทบัญญัติวางโทษผู้ซื้อขายทาสเท่ากับโจรปล้นทรัพย์ คือ มีโทษจำคุกถึง 7 ปี 


         เหตุการณ์ในสมัยของพระองค์ที่สำคัญประการหนึ่งก็คือ การปราบฮ่อ ซึ่งพวกฮ่อนี้ก็คือคนจีนนั่นเอง แต่ชาวไทยทางเหนือเรียกว่า “ฮ่อ” ซึ่งจีนพวกนี้ได้ตั้งเป็นคณะขึ้นเรียกว่า “คณะไต้เพ็ง” ได้ก่อการกบฏจะทำลายราชวงศ์แมนจู แต่กองทัพหลวงจีนได้ทำการปราบปราม พวกไต้เพ็งสุ้ไม่ได้จึงหนีถอยลงมาทางทิศใต้ มาตั้งอยู่ที่ทุ่งเชียงคำในแถบเมืองพวน เมื่อ พ.ศ.2417 แล้วเตรียมจะเข้าตีเมืองหลวงพระบาง ฝ่ายเจ้าเมืองหลวงพระบางกับกรมการเมืองหนองคาย จึงได้ส่งใบบอกมายังกรุงเทพฯ สมเด็จพระปิยมหาราชจึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดกองทัพออกไปทำการปราบปราม


         การทหารเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับประเทศชาติ จึงได้ทรงโปรดเกล้าให้จัดการทหารตามแบบแผน และฝึกหัดยุทธวินัยของชาติยุโรปที่เจริญแล้ว พระองค์ได้จัดส่งพระราชโอรสออกไปศึกษาวิชาการทหารในทวีปยุโรปเพื่อนำเอาความรู้เข้ามาใช้ในประเทศของเรา พระองค์ได้ทรงประกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการทหารบก และ ทหารเรือขึ้นใน พ.ศ.2430 ได้ตราพระราชบัญญัติจัดการทหารต่อมาใน พ.ศ.2437 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกระทรวงกลาโหมขึ้น และได้ตราพระราชบัญญัติการเกณฑ์ทหารขึ้นใน พ.ศ.2448 เพื่อให้จัดการฝึกหัดอบรมวิชาการทหาร สำหรับป้องกันประเทศซึ่งได้ชั้ตลอดจนถึงสมัยปัจจุบันนี้

สร้างโดย: 
ijung

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 252 คน กำลังออนไลน์