• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:45d6e25e99aba641d8209834dab84f1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u4695/kuysalak.gif\" style=\"width: 114px; height: 153px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"410\" />\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\">    ประเพณีตานก๋วยสลาก</span></b> หมายถึง ประเพณีถวายทานสลากภัต เป็นวิธีการถวายเครื่องไทยทานแก่พระพระสงฆ์วิธีหนึ่งอันเป็นที่นิยมของชาวเหนือ โดยทั่วไปจะเริ่มใน วันเพ็ญ เดือน 12 เหนือ (กันยายน) ถึงแรม 1 ค่ำ เดือนเกี๋ยงดับ (พฤศจิกายน) เมื่อทางวัดและชาวบ้านตกลงกันว่าจะจัดให้มีการกินสลาก <br />\nก่อนวันตานก๋วยสลาก ชาวบ้านจะจัดทำพิธีเตรียมสิ่งของเครื่องไทยทาน 1 วัน เรียกวันที่เตรียมของนี้ว่า “วันดา” ชาวบ้านจะจัดเครื่องไทยทานลงใน “ก๋วย” เป็นตระกร้าหรือชะลอมขนาดเล็กที่สานด้วยไม้ไผ่) เรียกว่า “ก๋วยสลาก” <br />\n<b><span style=\"color: #008000\">ประวัติความเป็นมาของประเพณีตานก๋วยสลาก<br />\n</span></b>     มีเรื่องเล่าไว้ในคัมภีร์ธรรมบทว่า มีนางยักษิณีตนหนึ่งรู้ฤกษ์ยามเป็นอันดี ปีไหนฝนดีนางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาในที่ดอน ปีไหลฝนไม่ดี นางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาทำไร่ในที่ลุ่ม ชาวเมืองได้อาศัยนางยักษิณีทำมาหากินจำเริญวัฒนาไม่มีความเสียหาย เมื่อชาวเมืองรำลึกถึงอุปการะของนางถึงต่างพากันนำเครื่องสักการะไปให้นางเป็นอันมาก นางจึงนำเอาเครื่องสักการะเหล่านั้นถวายเป็นสลากภัตแด่พระภิกษุสงฆ์ จึงเกิดเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาจนบัดนี้ <br />\n<span style=\"background-color: #00ff00\">ประเพณีตานก๋วยสลาก</span>   หรือประเพณีกิ๋นสลากเป็นประเพณีทำบุญโดยมิได้เลือกเจาะจงพระสงฆ์องค์ใดของชาวล้านนา มีลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับประเพณีถวายสลากภัตของชาวไทยภาคกลาง หากทางล้านนานิยมเป็นการทำบุญจตุปัจจัยถวายแด่พระสงฆ์ โดยมิต้องมีการทำบุญเป็นภัตตาหารต่าง ๆ เช่นเดียวกับภาคกลาง คำว่าก๋วย แปลว่า ภาชนะสาน ประเภทตะกร้าหรือชะลอม ตานก๋วยสลากจึงหมายถึงการถวายทานด้วยวิธีการจับสลากเครื่องไทยทานที่บรรจุมาในชะลอม โดยการถวายตานก๋วยสลากนี้มีจุดมุ่งหมาย 2 อย่างด้วยกันคือ อย่างหนึ่งเป็นการอุทิศให้เทพยดาและผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และอีกอย่างหนึ่งเป็นการอุทิศไว้ให้ตนเองเมื่อล่วงลับไปในภายหน้า การถวายก๋วยสลากถือกันว่าจะได้อานิสงส์แรง  ในช่วงปลายเดือนสิงหาคม ไปจนกระทั่งถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่ชาวบ้านว่างเว้นจากการทำนา เพราะต้องรอให้ต้นข้าวออกรวง จึงจะถึงฤดูเก็บเกี่ยว ในช่วงที่ยังไม่ได้เก็บเกี่ยวผลผลิตจากการทำนานี้ ถือเป็นช่วงที่อดอยากของชาวบ้านค่ะ เพราะข้าวเปลือกที่เก็บไว้ในยุ้งฉางใกล้จะหมด หรือบางบ้านอาจจะหมดไปแล้ว คนที่มีข้าวเปลือกก็จะเก็บไว้กินจนกว่าจะเก็บเกี่ยวข้าวใหม่ได้ในปีต่อไป ส่วนคนที่ซื้อข้าวสารกินก็จะหาซื้อยากและมีราคาแพง ในเมื่อคนทั่วไปอดอยากก็พลอยให้นึกไปถึง ผู้ที่เป็นญาติพี่น้องที่ตายจากไปแล้วว่าคงจะไม่มี เครื่องอุปโภค บริโภคเช่นเดียวกัน จึงได้เกิดเป็นประเพณี ในการทำบุญครั้งใหญ่ประจำปีขึ้น ในช่วงเดือน 10 ถึง เดือน 12  ของทางเหนือเรา เรียกว่า ประเพณีการทำบุญสลากภัตร หรือที่เราคุ้นหูกันในประเพณี ตานก๋วยสลาก บางที่ก็เรียกตานสลาก<br />\n<b><span style=\"color: #ff0000\">รูปแบบประเพณี <br />\n</span></b><span style=\"color: #0000ff\">ตานก๋วยสลากอาจแบ่งได้เป็นสามชนิดคือ</span><br />\n1. สลากเฉพาะวัด เรียกว่า สลากน้อย <br />\n2. สลากที่นิมนต์พระจากวัดอื่น ๆ มาร่วมพิธีด้วยเรียกว่า สลากหลวง <br />\n3. สลากที่ทำเมื่อฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาลเพื่อถวายกุศลแด่พระอินทร์ และเทพยดาต่าง ๆ เป็นการขอ <span style=\"color: #0000ff\">ฝนเรียกว่าสลากขอฝน หรือสลากพระอินทร์ </span>พิธีกรรมส่วนใหญ่ของตานก๋วยสลากแต่ละชนิดจะคล้ายคลึงกัน มีเพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้นที่แตกต่างออกไป ในวันดา ซึ่งเป็นวันเตรียมงาน ผู้ชายจะช่วยกันสานก๋วยไว้จำนวนหนึ่ง ส่วนฝ่ายหญิงก็จะจัดเตรียมเครื่องไทยทานที่จะบรรจุลงในถ้วย อาทิ ข้าวสาร พริก หอม กระเทียม เกลือ อาหาร ตลอดจนข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ ตามแต่ศรัทธา ในการเตรียมเครื่องไทยทานนี้มักจะมีญาติมิตรมาขอร่วมทำบุญด้วย <b><span style=\"color: #ff0000\">เรียกว่า ฮอมครัว</span></b> <br />\nที่สำคัญก็คือเจ้าของก๋วยจะต้องเขียนชื่อของตนและคำอุทิศไว้ในใบลานหรือกระดาษเล็ก ๆ ขนาดกว้าง 12 นิ้ว เรียกว่า เส้นสลาก เมื่อได้เวลาชาวบ้านจะนำเส้นสลากนี้ไปรวมกันไว้แล้วแบ่งถวายพระภิกษุสามเณรไปโดยไม่เจาะจง จากนั้นจึงจะมีผู้ขานชื่อในเส้นสลากแต่ละเส้นดัง ๆ เจ้าของก็จะนำเอาก๋วยของตนไปถวายพระภิกษุหรือสามเณรตามสลากนั้น ๆ พระจะอ่านข้อความในเส้นสลาก และกล่าวอนุโมทนาเป็นอันเสร็จพิธี <br />\nขออธิบายเรื่องเส้นสลากสักเล็กน้อย “เส้นสลาก”ที่กล่าวนี้ ผู้เป็นเจ้าของ”ก๋วยสลาก”จะต้องเอาใบลานหรือกระดาษมาตัดเป็นแผ่นยาวๆ จารึกชื่อเจ้าขอไว้ และบอกด้วยว่าอุทิศส่วนกุศลนั้นให้ใครบ้าง คำจารึกในเส้นสลากนั้นมักจะเขียนดังนี้ “สลากข้าวซองนี้ หมายมีผู้ข้านายแก้ว นางดี ขอทานให้กับตนตัวภายหน้า” หมายถึง ถวายทานไว้อุทิศส่วนกุศลไว้สำหรับตัวเอง เมื่อล่วงลับไปแล้วจะได้รับเอา ของไทยทานนั้นในปรโลก ซึ่งเป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนทั่วไปว่า เมื่อทำบุญถวายทานไว้ในพระศาสนาแล้วเมื่อล่วงลับดับขันธ์ไปก็จะได้ไปเสวยอานิสงส์ผลบุญนั้นในโลกหน้าและจะมีการอุทิศส่วนกุศลนั้นให้ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับไปแล้ว <span style=\"background-color: #00ff00\">“ผู้ข้าหนานเสนา บางบุ บ้านวังม่วง ขอทานไว้ถึงนางจันตาผู้เป็นแม่ที่ล่วงลับไปแล้ว ขอหื้อไปรอดไปถึงจิ่มเต๊อะฯ”</span> เป็นต้น <br />\nการ “ทานก๋วยสลาก” นี้นอกจากจะมี “ก๋วยเล็ก” แล้ว ผู้ที่มีฐานะดี การเงินไม่ขัดสน ก็จะจัดเป็นพิเศษที่เรียกว่า “สลากโชค” สลากโชคนี้ทำเป็นพิเศษกว่าสลากธรรมดา และในสมัยก่อนมักจะทำเป็นรูปเรือนหลังเล็กๆ มีข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น หม้อข้าว หม้อแกง ถ้วยชาม เครื่องนอนหมอนมุ้ง เสื่ออ่อน ไม้กวาด เครื่องนุ่งห่ม อาหารสำเร็จรูป ๑ สำรับ และรอบๆ เรือนหลังเล็กนั้นจะมีต้นกล้วย ต้นอ้อยผูกติดไว้ และยังมี<span style=\"color: #ff0000\"><b> “ยอด”</b></span> เงินหลายสิบ หรือปัจจุบันก็เป็นร้อยๆ บาท ผูกติดไว้ด้วย สลากโชคนี้บางคนก็อุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดาหรือญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">สลากโชคนี้</span>เจ้าของจะตบแต่งประณีตสวยงามกว่าสลากธรรมดา บางเจ้าของก็เอาเครื่องประดับอันมีค่าสร้อยคอทองคำ สร้อยข้อมือหรือเข็มขัดนาค เข็มขัดเงินใส่ลงไปด้วย แต่ไม่ได้ “ทาน” ไปจริงๆ เมื่อถวายสลากแล้วก็มักจะขอ “บูชา”คืน การเอาของมีค่าใส่ลงไปเช่นนั้น ผู้ถวายมักจะอุทิศส่วนกุศลนั้นๆ ให้ตนเอง เพราะเชื่อว่าเมื่อตายไปแล้วหากไปเกิดในภพอื่นๆ ก็จะได้รับสิ่งของที่ตนถวายอุทิศไปอีกด้วย .<br />\n<b><span style=\"color: #ff00ff\">วิธีการทำและการตกแต่งก๋วย  <br />\n</span></b>ชะลอมสำหรับใส่ของที่จะถวายพระสงฆ์ มีลักษณะคล้ายชะลอมใส่ผลไม้ มีลำดับขั้นตอนในการทำและตกแต่งดังนี้<br />\n<span style=\"color: #0000ff\">     1. เอาไม้ไผ่มาสานเป็นชะลอม คล้าย ๆ ชะลอมใส่ผลไม้<br />\n2. นำใบตองมารองในก๋วย<br />\n3. นำเครื่องไทยทานใสก๋วย</span> ดังนี้<br />\nข้าวสารอาหารแห้ง ประกอบด้วย  - ข้าวสาร- กระเทียม- หอมแดง- เกลือ- ปลาร้า- ปลาแห้ง- ปลากระป๋อง- พริกแห้ง- น้ำปลาขนาดเล็ก หมาก พลู กล้วย อ้อย ปูนแดง ปูนขาวของคาวหวาน บุหรี่ (ยาขึ่น) ไม้ขีด ดอกไม้ธูปเทียน (สวยเตียน)  เมื่อนำสิ่งของทั้งหมดใส่ในก๋วยแล้ว มัดปากก๋วยด้วยตอก แล้วนำเอาดอกไม้ธูปเทียน (สวยเตียน) เสียบไว้ข้างบน                                      <br />\nก๋วยสลากของแท้และดั้งเดิม การทำและแต่งต้นกัลปพฤกษ์        <br />\n1. นำไม้ไผ่สูงตามต้องการทำเป็นเสาสลากของต้นกัลปพฤกษ          <br />\n2. นำไม้ไผ่เหลาเป็นวงกลมทำเป็นชั้น ๆ อาจเป็น 3 ชั้น , 5 ชั้น , 7 ชั้น หรือ     9 ชั้น แต่ส่วนมากนิยมทำ<br />\nเป็น 9 ชั้น<br />\n3. นำกระดาษย่นสีต่าง ๆ มาพันรอบเสาและชั้นของต้นกัลปพฤกษ์<br />\n4. แต่ละชั้นก็นำเครื่องไทยทานมาผูกติดให้สวยงาม ปัจจุบันจะนิยมใส่บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป วุ้นเส้น ถ้วย <br />\nจาน ขันน้ำ ขนม แปรงฟัน ยาสีฟัน กระดาษชำระ ผงซักฟอก สบู่ แก้วน้ำ แชมพูสระผม<br />\n5. ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขนหนู<br />\n6. ส่วนชั้นที่ 9 นำสบงมาติด<br />\n7. ส่วนชั้นที่ 1 นำเงินที่เป็นเหรียญมาห่อด้วยกระดาษเงิน กระดาษทอง แล้วนำมาห้อยไว้<br />\n8. แล้วนำร่มคันเล็กมาติดปลายยอดสุด แล้วยังมีการผูกธนบัตรไว้ที่ขอบร่มตาม<br />\nศรัทธา                                        <br />\n<b><span style=\"color: #ff0000\">พิธีการการถวายไทยทาน</span></b> ของแต่ละท้องถิ่นนั้นก็มีความแตกต่างกันออกไป <br />\n“ตางเจียงฮาย เมืองแพร่ เมืองน่าน ลำปางเปิ้นเน้นของกิ๋น แล้วก็ไปเน้น ก๋วยตี้ว่าเนี๊ยะ บ่ปอใคร่เน้นเครื่องอุปโภคสักเต่าใด เป็นไปเน้นสามัคคีธรรมระหว่างวัด คือแต่ละวัดเนี๊ยะ จะต้องแห่ คล้าย ๆ กับปอยหลวงของเจียงใหม่ แล้วก็หื้อความสำคัญกับหงส์ หงส์นี๊ยะจะเป็นตัวตี่ปาเอากุศล คัวตาลทั้งหลายไปสู่จุดหมายปลายทางไปหน้า เพราะฉะนั้นจะมีรูปหงส์เต็มไปหมดเลย”<br />\nตางเจียงใหม่ ละปูน ส่วนใหญ่จะหื้อความสำคัญกับสิ่งของ คือของกิ๋น ก็มีอยู่พ่อง แต่ว่าไปเน้นเครื่องอุปโภคบริโภค ที่ไว้ภายหน้า หรือว่าตานไปหาคนตาย และจะเน้นที่พาหนะ ตะกี้เป็นหงส์ อันนี้เป็นสำเภา ล้านนาเปิ้นฮ้องว่าสะเปา เป็นตัวแทน มันจะเริ่มหายไปนัก ส่วนใหญ่จะเป็นต้น เป็นต้นครัวตาน แป๋งเป็นต้นฟาง ขึ้นไปละก็เสียบดอก เสียบเครื่องใช้ โดยเฉพาะที่หละปูน คนใดเป็นสาวขึ้นมาแล้ว ก่อนจะแต่งงานจะต้องตานสลาก ย้อมเตี่อ นึ้ง สลากย้อมก็คือ ต้นสลากใหญ่\n</p>\n<p>:: ดูหน้าต่อไป </p>\n', created = 1715469884, expire = 1715556284, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:45d6e25e99aba641d8209834dab84f1e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีท้องถิ่นล้านนา

รูปภาพของ surapong2520

    ประเพณีตานก๋วยสลาก หมายถึง ประเพณีถวายทานสลากภัต เป็นวิธีการถวายเครื่องไทยทานแก่พระพระสงฆ์วิธีหนึ่งอันเป็นที่นิยมของชาวเหนือ โดยทั่วไปจะเริ่มใน วันเพ็ญ เดือน 12 เหนือ (กันยายน) ถึงแรม 1 ค่ำ เดือนเกี๋ยงดับ (พฤศจิกายน) เมื่อทางวัดและชาวบ้านตกลงกันว่าจะจัดให้มีการกินสลาก
ก่อนวันตานก๋วยสลาก ชาวบ้านจะจัดทำพิธีเตรียมสิ่งของเครื่องไทยทาน 1 วัน เรียกวันที่เตรียมของนี้ว่า “วันดา” ชาวบ้านจะจัดเครื่องไทยทานลงใน “ก๋วย” เป็นตระกร้าหรือชะลอมขนาดเล็กที่สานด้วยไม้ไผ่) เรียกว่า “ก๋วยสลาก”
ประวัติความเป็นมาของประเพณีตานก๋วยสลาก
     มีเรื่องเล่าไว้ในคัมภีร์ธรรมบทว่า มีนางยักษิณีตนหนึ่งรู้ฤกษ์ยามเป็นอันดี ปีไหนฝนดีนางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาในที่ดอน ปีไหลฝนไม่ดี นางก็บอกให้ชาวเมืองทำนาทำไร่ในที่ลุ่ม ชาวเมืองได้อาศัยนางยักษิณีทำมาหากินจำเริญวัฒนาไม่มีความเสียหาย เมื่อชาวเมืองรำลึกถึงอุปการะของนางถึงต่างพากันนำเครื่องสักการะไปให้นางเป็นอันมาก นางจึงนำเอาเครื่องสักการะเหล่านั้นถวายเป็นสลากภัตแด่พระภิกษุสงฆ์ จึงเกิดเป็นธรรมเนียมปฏิบัติสืบต่อกันมาจนบัดนี้
ประเพณีตานก๋วยสลาก   หรือประเพณีกิ๋นสลากเป็นประเพณีทำบุญโดยมิได้เลือกเจาะจงพระสงฆ์องค์ใดของชาวล้านนา มีลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับประเพณีถวายสลากภัตของชาวไทยภาคกลาง หากทางล้านนานิยมเป็นการทำบุญจตุปัจจัยถวายแด่พระสงฆ์ โดยมิต้องมีการทำบุญเป็นภัตตาหารต่าง ๆ เช่นเดียวกับภาคกลาง คำว่าก๋วย แปลว่า ภาชนะสาน ประเภทตะกร้าหรือชะลอม ตานก๋วยสลากจึงหมายถึงการถวายทานด้วยวิธีการจับสลากเครื่องไทยทานที่บรรจุมาในชะลอม โดยการถวายตานก๋วยสลากนี้มีจุดมุ่งหมาย 2 อย่างด้วยกันคือ อย่างหนึ่งเป็นการอุทิศให้เทพยดาและผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และอีกอย่างหนึ่งเป็นการอุทิศไว้ให้ตนเองเมื่อล่วงลับไปในภายหน้า การถวายก๋วยสลากถือกันว่าจะได้อานิสงส์แรง  ในช่วงปลายเดือนสิงหาคม ไปจนกระทั่งถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่ชาวบ้านว่างเว้นจากการทำนา เพราะต้องรอให้ต้นข้าวออกรวง จึงจะถึงฤดูเก็บเกี่ยว ในช่วงที่ยังไม่ได้เก็บเกี่ยวผลผลิตจากการทำนานี้ ถือเป็นช่วงที่อดอยากของชาวบ้านค่ะ เพราะข้าวเปลือกที่เก็บไว้ในยุ้งฉางใกล้จะหมด หรือบางบ้านอาจจะหมดไปแล้ว คนที่มีข้าวเปลือกก็จะเก็บไว้กินจนกว่าจะเก็บเกี่ยวข้าวใหม่ได้ในปีต่อไป ส่วนคนที่ซื้อข้าวสารกินก็จะหาซื้อยากและมีราคาแพง ในเมื่อคนทั่วไปอดอยากก็พลอยให้นึกไปถึง ผู้ที่เป็นญาติพี่น้องที่ตายจากไปแล้วว่าคงจะไม่มี เครื่องอุปโภค บริโภคเช่นเดียวกัน จึงได้เกิดเป็นประเพณี ในการทำบุญครั้งใหญ่ประจำปีขึ้น ในช่วงเดือน 10 ถึง เดือน 12  ของทางเหนือเรา เรียกว่า ประเพณีการทำบุญสลากภัตร หรือที่เราคุ้นหูกันในประเพณี ตานก๋วยสลาก บางที่ก็เรียกตานสลาก
รูปแบบประเพณี
ตานก๋วยสลากอาจแบ่งได้เป็นสามชนิดคือ
1. สลากเฉพาะวัด เรียกว่า สลากน้อย
2. สลากที่นิมนต์พระจากวัดอื่น ๆ มาร่วมพิธีด้วยเรียกว่า สลากหลวง
3. สลากที่ทำเมื่อฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาลเพื่อถวายกุศลแด่พระอินทร์ และเทพยดาต่าง ๆ เป็นการขอ ฝนเรียกว่าสลากขอฝน หรือสลากพระอินทร์ พิธีกรรมส่วนใหญ่ของตานก๋วยสลากแต่ละชนิดจะคล้ายคลึงกัน มีเพียงรายละเอียดปลีกย่อยเท่านั้นที่แตกต่างออกไป ในวันดา ซึ่งเป็นวันเตรียมงาน ผู้ชายจะช่วยกันสานก๋วยไว้จำนวนหนึ่ง ส่วนฝ่ายหญิงก็จะจัดเตรียมเครื่องไทยทานที่จะบรรจุลงในถ้วย อาทิ ข้าวสาร พริก หอม กระเทียม เกลือ อาหาร ตลอดจนข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ ตามแต่ศรัทธา ในการเตรียมเครื่องไทยทานนี้มักจะมีญาติมิตรมาขอร่วมทำบุญด้วย เรียกว่า ฮอมครัว
ที่สำคัญก็คือเจ้าของก๋วยจะต้องเขียนชื่อของตนและคำอุทิศไว้ในใบลานหรือกระดาษเล็ก ๆ ขนาดกว้าง 12 นิ้ว เรียกว่า เส้นสลาก เมื่อได้เวลาชาวบ้านจะนำเส้นสลากนี้ไปรวมกันไว้แล้วแบ่งถวายพระภิกษุสามเณรไปโดยไม่เจาะจง จากนั้นจึงจะมีผู้ขานชื่อในเส้นสลากแต่ละเส้นดัง ๆ เจ้าของก็จะนำเอาก๋วยของตนไปถวายพระภิกษุหรือสามเณรตามสลากนั้น ๆ พระจะอ่านข้อความในเส้นสลาก และกล่าวอนุโมทนาเป็นอันเสร็จพิธี 
ขออธิบายเรื่องเส้นสลากสักเล็กน้อย “เส้นสลาก”ที่กล่าวนี้ ผู้เป็นเจ้าของ”ก๋วยสลาก”จะต้องเอาใบลานหรือกระดาษมาตัดเป็นแผ่นยาวๆ จารึกชื่อเจ้าขอไว้ และบอกด้วยว่าอุทิศส่วนกุศลนั้นให้ใครบ้าง คำจารึกในเส้นสลากนั้นมักจะเขียนดังนี้ “สลากข้าวซองนี้ หมายมีผู้ข้านายแก้ว นางดี ขอทานให้กับตนตัวภายหน้า” หมายถึง ถวายทานไว้อุทิศส่วนกุศลไว้สำหรับตัวเอง เมื่อล่วงลับไปแล้วจะได้รับเอา ของไทยทานนั้นในปรโลก ซึ่งเป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนทั่วไปว่า เมื่อทำบุญถวายทานไว้ในพระศาสนาแล้วเมื่อล่วงลับดับขันธ์ไปก็จะได้ไปเสวยอานิสงส์ผลบุญนั้นในโลกหน้าและจะมีการอุทิศส่วนกุศลนั้นให้ญาติพี่น้องผู้ล่วงลับไปแล้ว “ผู้ข้าหนานเสนา บางบุ บ้านวังม่วง ขอทานไว้ถึงนางจันตาผู้เป็นแม่ที่ล่วงลับไปแล้ว ขอหื้อไปรอดไปถึงจิ่มเต๊อะฯ” เป็นต้น
การ “ทานก๋วยสลาก” นี้นอกจากจะมี “ก๋วยเล็ก” แล้ว ผู้ที่มีฐานะดี การเงินไม่ขัดสน ก็จะจัดเป็นพิเศษที่เรียกว่า “สลากโชค” สลากโชคนี้ทำเป็นพิเศษกว่าสลากธรรมดา และในสมัยก่อนมักจะทำเป็นรูปเรือนหลังเล็กๆ มีข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น หม้อข้าว หม้อแกง ถ้วยชาม เครื่องนอนหมอนมุ้ง เสื่ออ่อน ไม้กวาด เครื่องนุ่งห่ม อาหารสำเร็จรูป ๑ สำรับ และรอบๆ เรือนหลังเล็กนั้นจะมีต้นกล้วย ต้นอ้อยผูกติดไว้ และยังมี “ยอด” เงินหลายสิบ หรือปัจจุบันก็เป็นร้อยๆ บาท ผูกติดไว้ด้วย สลากโชคนี้บางคนก็อุทิศส่วนกุศลให้บิดามารดาหรือญาติผู้ใหญ่ที่ล่วงลับไปแล้ว 

สลากโชคนี้เจ้าของจะตบแต่งประณีตสวยงามกว่าสลากธรรมดา บางเจ้าของก็เอาเครื่องประดับอันมีค่าสร้อยคอทองคำ สร้อยข้อมือหรือเข็มขัดนาค เข็มขัดเงินใส่ลงไปด้วย แต่ไม่ได้ “ทาน” ไปจริงๆ เมื่อถวายสลากแล้วก็มักจะขอ “บูชา”คืน การเอาของมีค่าใส่ลงไปเช่นนั้น ผู้ถวายมักจะอุทิศส่วนกุศลนั้นๆ ให้ตนเอง เพราะเชื่อว่าเมื่อตายไปแล้วหากไปเกิดในภพอื่นๆ ก็จะได้รับสิ่งของที่ตนถวายอุทิศไปอีกด้วย .
วิธีการทำและการตกแต่งก๋วย 
ชะลอมสำหรับใส่ของที่จะถวายพระสงฆ์ มีลักษณะคล้ายชะลอมใส่ผลไม้ มีลำดับขั้นตอนในการทำและตกแต่งดังนี้
     1. เอาไม้ไผ่มาสานเป็นชะลอม คล้าย ๆ ชะลอมใส่ผลไม้
2. นำใบตองมารองในก๋วย
3. นำเครื่องไทยทานใสก๋วย
ดังนี้
ข้าวสารอาหารแห้ง ประกอบด้วย  - ข้าวสาร- กระเทียม- หอมแดง- เกลือ- ปลาร้า- ปลาแห้ง- ปลากระป๋อง- พริกแห้ง- น้ำปลาขนาดเล็ก หมาก พลู กล้วย อ้อย ปูนแดง ปูนขาวของคาวหวาน บุหรี่ (ยาขึ่น) ไม้ขีด ดอกไม้ธูปเทียน (สวยเตียน)  เมื่อนำสิ่งของทั้งหมดใส่ในก๋วยแล้ว มัดปากก๋วยด้วยตอก แล้วนำเอาดอกไม้ธูปเทียน (สวยเตียน) เสียบไว้ข้างบน                                     
ก๋วยสลากของแท้และดั้งเดิม การทำและแต่งต้นกัลปพฤกษ์       
1. นำไม้ไผ่สูงตามต้องการทำเป็นเสาสลากของต้นกัลปพฤกษ         
2. นำไม้ไผ่เหลาเป็นวงกลมทำเป็นชั้น ๆ อาจเป็น 3 ชั้น , 5 ชั้น , 7 ชั้น หรือ     9 ชั้น แต่ส่วนมากนิยมทำ
เป็น 9 ชั้น
3. นำกระดาษย่นสีต่าง ๆ มาพันรอบเสาและชั้นของต้นกัลปพฤกษ์
4. แต่ละชั้นก็นำเครื่องไทยทานมาผูกติดให้สวยงาม ปัจจุบันจะนิยมใส่บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป วุ้นเส้น ถ้วย
จาน ขันน้ำ ขนม แปรงฟัน ยาสีฟัน กระดาษชำระ ผงซักฟอก สบู่ แก้วน้ำ แชมพูสระผม
5. ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขนหนู
6. ส่วนชั้นที่ 9 นำสบงมาติด
7. ส่วนชั้นที่ 1 นำเงินที่เป็นเหรียญมาห่อด้วยกระดาษเงิน กระดาษทอง แล้วนำมาห้อยไว้
8. แล้วนำร่มคันเล็กมาติดปลายยอดสุด แล้วยังมีการผูกธนบัตรไว้ที่ขอบร่มตาม
ศรัทธา                                       
พิธีการการถวายไทยทาน ของแต่ละท้องถิ่นนั้นก็มีความแตกต่างกันออกไป
“ตางเจียงฮาย เมืองแพร่ เมืองน่าน ลำปางเปิ้นเน้นของกิ๋น แล้วก็ไปเน้น ก๋วยตี้ว่าเนี๊ยะ บ่ปอใคร่เน้นเครื่องอุปโภคสักเต่าใด เป็นไปเน้นสามัคคีธรรมระหว่างวัด คือแต่ละวัดเนี๊ยะ จะต้องแห่ คล้าย ๆ กับปอยหลวงของเจียงใหม่ แล้วก็หื้อความสำคัญกับหงส์ หงส์นี๊ยะจะเป็นตัวตี่ปาเอากุศล คัวตาลทั้งหลายไปสู่จุดหมายปลายทางไปหน้า เพราะฉะนั้นจะมีรูปหงส์เต็มไปหมดเลย”
ตางเจียงใหม่ ละปูน ส่วนใหญ่จะหื้อความสำคัญกับสิ่งของ คือของกิ๋น ก็มีอยู่พ่อง แต่ว่าไปเน้นเครื่องอุปโภคบริโภค ที่ไว้ภายหน้า หรือว่าตานไปหาคนตาย และจะเน้นที่พาหนะ ตะกี้เป็นหงส์ อันนี้เป็นสำเภา ล้านนาเปิ้นฮ้องว่าสะเปา เป็นตัวแทน มันจะเริ่มหายไปนัก ส่วนใหญ่จะเป็นต้น เป็นต้นครัวตาน แป๋งเป็นต้นฟาง ขึ้นไปละก็เสียบดอก เสียบเครื่องใช้ โดยเฉพาะที่หละปูน คนใดเป็นสาวขึ้นมาแล้ว ก่อนจะแต่งงานจะต้องตานสลาก ย้อมเตี่อ นึ้ง สลากย้อมก็คือ ต้นสลากใหญ่

:: ดูหน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นายสุรพงษ์ จ๋าก๋าง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 242 คน กำลังออนไลน์