• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c64c05d523270ef44aff121850ad7975' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<img src=\"/files/u4695/careloung_1.gif\" style=\"width: 107px; height: 148px\" border=\"0\" width=\"290\" height=\"382\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">คำขวัญของอำเภอบ้านโฮ่ง     ที่ว่า   “ ถ้ำหลวงงดงาม  ลือนามหอมกระเทียม   ลำไยรสเยี่ยม   พระเจ้าสะเลียมหวานเลิศล้ำ   น้ำตกงามแท้  แค่หลวงงามตา  บูชาพระเจ้าตนหลวง  บวงสรวงพระบาทสามยอด” <br />\n</span>         <span style=\"color: #008000\">แค่หลวงงามตา</span> …..หมายถึง  ประเพณีการแห่แค่หลวง  ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอบ้านโฮ่ง  จังหวัดลำพูน<br />\nคำว่า “ แค่ ”  เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย    มีลักษณะเป็นไม้มัดกำ   ทำมาจากไม้ไผ่ จักเป็นซี่ ๆ    หรือไม้อย่างอื่นที่สามารถติดไฟได้ง่าย      ไม้ที่ใช้จะเลือกเอาที่เป็นไม้แห้ง ๆ  นำมามัดเป็นกำรวมกัน   ใหญ่กว่ากำมือเล็กน้อย   ยาวไม่เกิน  ๑  เมตร  หรือให้พอดีกับการถือ<br />\nประโยชน์ในการใช้สอยไม้แค่       เนื่องจากคนล้านนาสมัยโบราณไม่มีตะเกียงหรือไฟฉายใช้กัน  จึงใช้ไม้แค่จุดไฟให้สว่างเพื่อส่องทางเดินในเวลาค่ำคืน      เหมือนไต้ไฟหรือคบเพลิง  เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง     ก็จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา<br />\n<span style=\"background-color: #00ff00\">ในสมัยล้านนาโบราณ</span>  ชาวบ้านได้กำหนดให้มีพิธีการแห่แค่ไปถวายพระสงฆ์ในวัด       แล้วจุดถวายเป็นพุทธบูชาในวันยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนสิบสอง    อันเป็นพิธีหนึ่งใน  วันลอยกระทง  กล่าวคือ  ในตอนเช้าตรู่ของวันยี่เป็ง วัดทุกวัดจะมีการเทศน์มหาชาติ    ตอนสายจะมีการทำบุญตักบาตรและในตอนกลางคืน   ชาวบ้านจะจัดทำต้นแค่  โดยจะช่วยกันประดับตกแต่งด้วยโคมไฟ  หรือสิ่งต่าง ๆ อย่างสวยงามแล้วตั้งขบวนแห่กันไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา     ต่อจากนั้นก็จะจุดไฟที่ต้นแค่ให้ลุกสว่างไสวไปทั่วบริเวณวัด   เพื่อเป็นพุทธบูชา     แล้วจึงไปลอยกระทงเพื่อบูชาพระแม่คงคาและปล่อยเคราะห์กรรมต่าง ๆ  ให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำ<br />\n<span style=\"background-color: #00ff00\">เมื่อกาลเวลาล่วงเลยมายาวนาน</span>  ประเพณีการจุดไม้แค่ได้ถูกลืมเลือนหายไปในหลายที่หลายแห่งเพราะได้มีการ    นำเอาธูปเทียนหรือประทีปมาจุดแทนเนื่องจากหาซื้อได้ง่ายและสะดวกกว่า       แต่ชาวอำเภอบ้านโฮ่ง  ได้เล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญจึงยังคงมีการสืบสาน        และอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหายไปซึ่งกล่าวกันว่าในอดีตกาล  วัดดงฤาษีซึ่งเป็นวัดที่เก่าแก่ของอำเภอบ้านโฮ่ง  มีฤาษีสองตนมาบำเพ็ญพรตอยู่             และมีความเชื่อกันว่านอกจากจะจุดแค่เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้ว         ยังจุดเพื่อบูชาพระฤาษีอีกด้วย<br />\nในสมัยปัจจุบัน  การจุดแค่ในอำเภอบ้านโฮ่ง      ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยนิยมคือมีการจัดเป็น      ๒  รูปแบบ  ได้แก่  <br />\n<span style=\"background-color: #00ffff\"> รูปแบบที่ ๑</span>   ก่อนวันยี่เป็ง  ๑  วัน  ชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำต้นแค่    โดยจะประดับตกแต่งให้สวยงามแล้วขอสูมาต้นแค่แล้วจึงแห่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา   หรือบางแห่งก็จะมีการประกวดต้นแค่ด้วย<br />\n<span style=\"background-color: #00ffff\">รูปแบบที่ ๒</span>  ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอบ้านโฮ่งได้จัดงานแค่หลวงขึ้น ณ ที่ว่าการอำเภอบ้านโฮ่งทุกปี     โดยจะเชิญหมู่บ้าน  ตำบล  หน่วยงานราชการ  หน่วยงานเอกชนต่าง ๆ  จัดทำต้นแค่หลวง ( หลวง  หมายถึง  ใหญ่ ) มาประกวดกันซึ่งการประกวดนั้น      มีการตัดสินในเรื่องของรูปแบบขบวนนางงามแค่หลวง    ความคิดสร้างสรรค์    ความสวยงาม  ฯลฯ <br />\nตลอดจนได้จัดให้มีมหรสพต่าง ๆ มากมายเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกทางหนึ่งด้วย<br />\nประเพณีการแห่แค่หลวงเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าควรแก่การสืบทอดให้ชนรุ่นหลังต่อไป\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff00\">ประเพณีแห่แคร่<br />\n</span>     เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานาน คือการนำแคร่ไปวัดเพื่อนำไปจุดไฟเป็นพุทธบูชาให้กับพระพุทธเจ้า เมื่อไปเข้าเฝ้าในเวลากลางคืน หรือตอนที่มีการจัดงานในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันเพ็ญเดือนสิบสอง หรือที่ชาวเหนือเรียกว่าวันยี่เป็ง สำหรับอำเภอพาน ก็ได้มีการรักษาประเพณีนี้โดยวัดบวกขอน(วัดศรีเมืองมูล) ก็ได้มีการนำแคร่(ไม้ไผ่) มามัดรวมกันเป็นต้นแคร่ แต่ละหมวดบ้านก็จะตกแต่งต้นแคร่ของตนให้สวยงามเพื่อจะได้นำไปจุดถวายเป็นพุทธบูชาทุกปี เป็นการรักษาไว้ซึ่งประเพณีอันดีงามสืบมาจนถึงทุกวันนี้<br />\nประเพณีการแห่แค่หลวง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวบ้านโฮ่ง (แค่ เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนา จะใช้จุดไฟให้สว่าง เพื่อส่องทางในเวลาค่ำคืน มีลักษณะเหมือนใต้ไฟหรือคบเพลิง เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา  แต่ในปัจจุบันชาวอำเภอบ้านโฮ่ง มีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้ อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหาย จึงมีการจัดประเพณีการแห่แค่หลวงขึ้น ในเพ็ญเดือนยี่เป็ง(เพ็ญเดือนสิบสอง) หนึ่งวันตกเดือนพฤศจิกายนของทุกปี  มีการประดับประดาด้วยโคมไฟและลวดลายวิจิตรงดงาม     จัดขึ้น ณ หน้าที่ว่าการอำเภอบ้านโฮ่ง เป็นประจำทุกปี<br />\nประเพณีแห่แค่หลวง</p>\n<p><span style=\"background-color: #ffff00\">ประเพณีแห่แค่หลวงของจังหวัดลำพูน</span> เป็นประเพณีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดลำพูน      โดยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี และเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามในอำเภอบ้านโฮ่ง  ซึ่งสอดคล้องกับคำขวัญของอำเภอบ้านโฮ่งที่ว่า   “ ถ้ำหลวงงดงาม   ลือนามหอมกระเทียม   ลำไยรสเยี่ยม    พระเจ้าสะเลียมหวานเลิศล้ำ   น้ำตกงามแท้   แค่หลวงงามตา    บูชาพระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพระบาทสามยอด”<br />\nแค่หลวงงามตา หมายถึง ประเพณีการแห่แค่หลวง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวบ้านอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน<span style=\"color: #008000\"> (อาจจะบอกได้ว่ามีแห่งเดียวในโลก)<br />\n</span>             <span style=\"background-color: #00ff00\">คำว่า “แค่” เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย    (ยังไม่มีการควบกล้ำอักษร)</span> มีลักษณะเป็นไม้มัดกำ  ทำมาจากไม้ไผ่จักเป็นซี่ๆหรือไม้อย่างอื่นๆ   ที่สามารถติดๆ  ไฟได้ง่าย เป็นไม้แห้งๆนำมามัดเป็นกำรวมกัน ใหญ่กว่ากำมือเล็กน้อยยาวไม่เกิน ๑ เมตรหรือให้พอดีกับการถือ <span style=\"color: #ff0000\">(คล้ายกับคำว่า “แคร่”ในพจนานุกรม หมายถึงที่นั่งหรือนอน มัดทำด้วยฟากหรือไม่ไผ่ซี่ๆ  ถักติดกัน ฯลฯ)<br />\n</span> ประโยชน์ ในการใช้สอยไม้แค่ เนื่องจากล้านนาสมัยโบราณ ไม่มีไฟฉายหรือตะเกียงจึงใช้ไม้แค่จุดไฟให้สว่างเพื่อส่องทางในเวลาค่ำคืน เหมือนไต้ไฟหรือคบเพลิง เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง ก็จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา<br />\nในสมัยล้านนาโบราณ ชาวบ้านได้กำหนดให้มีพิธีการ แห่แค่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดแล้วจุดถวายเป็นพุทธบูชา ในวันยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนสิบสอง อันเป็นพิธีหนึ่งในวัดลอยกระทงกล่าวคือ ในตอนเช้าตรู่ของวันยี่เป็ง วัดทุกวัดจะมีการเทศน์มหาชาติ ตอนสายจะมีการทำบุญตักบาตรและในตอนกลางคืน ชาวบ้านจะจัดทำต้นแค่ โดยจะช่วยกันประดับตกแต่งด้วยโคมไฟหรือสิ่งต่างๆอย่างสวยงามแล้วตั้งขบวนแห่กันไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา ต่อจากนั้นก็จะจุดไฟที่ต้นแค่ให้ลุกสว่างไสวไปทั่วบริเวณวัด เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้วจึงไปลอยกระทงเพื่อบูชาพระแม่คงคาและปล่อยเคราะห์กรรมต่างๆ ให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำ<br />\nเมื่อกาลเวลาล่วงเลยมายาวนานประเพณีการจุดไม้แค่ก็ได้ถูกลืมเลือนไปในหลายที่หลายแห่งเพราะได้มีการนำเอาธูปเทียนหรือประทีปมาจุดแทน เนื่องจากหาซื้อได้ง่ายและสะดวกกว่า แต่ชาวอำเภอบ้านโฮ่งได้เล็งเห็นความสำคัญจึงยังคงมีการสืบสาน และอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้ อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหายไป ซึ่งกล่าวกันว่าในอดีตกาล วัดดงฤาษี ซึ่งเป็นวัดที่เก่าแก่ของ อ.บ้านโฮ่ง มีฤาษีสองตนมาบำเพ็ญพรตอยู่ และความเชื่อกันว่า นอกจากจะจุดแค่เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังจุดเพื่อบูชาพระฤาษีอีกด้วย<br />\nในสมัยปัจจุบัน การจุดแค่ใน อ.บ้านโฮ่ง ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยนิยม คือมีการจัดเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่<br />\n<span style=\"background-color: #00ff00\">รูปแบบที่ 1</span> ก่อนวันยี่เป็ง 1 วัน ชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำต้นแค่ โดยจะประดับตกแต่งให้สวยงามแล้วขอสูมาต้นแค่ แล้วจึงแห่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธาหรือในบางแห่งก็จะมีการประกวดต้นแค่ด้วย<br />\n<span style=\"background-color: #00ff00\">รูปแบบที่ 2</span> สภาวัฒนธรรมอำเภอบ้านโฮ่งร่วมกับเทศบาลตำบลบ้านโฮ่งเป็นหลัก องค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน องค์กรเอกชน หน่วยงานราชการต่างๆ องค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานจัดงานประเพณีแห่แค่หลวง ประจำปี โดยมีกิจกรรมการประกวด      ต้นแค่หลวง (หลวง  หมายถึง  ใหญ่) ของหมู่บ้าน ตำบล หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชนต่างๆ ซึ่งการประกวดนั้น มีการตัดสินในเรื่องรูปแบบขบวน นางงามแค่หลวง     (ธิดาแค่หลวง)  ความคิดสร้างสรรค์ ความสวยงาม ฯลฯ ตลอดจนจัดให้มีการประกวดอื่นๆ เพื่อความบันเทิงและรักษาวัฒนธรรมเช่น ประกวดร้องเพลง บอกไฟดอก กระทงประดิษฐ์ แค่จำลอง เจดีย์ทราย เป็นต้น ประเพณีการแห่แค่หลวงเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าควรแก่การสืบทอดให้ชนรุ่นหลังต่อไป :: ดูหน้าต่อไป\n</p>\n', created = 1715446668, expire = 1715533068, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c64c05d523270ef44aff121850ad7975' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีท้องถิ่นล้านนา

รูปภาพของ surapong2520

คำขวัญของอำเภอบ้านโฮ่ง     ที่ว่า   “ ถ้ำหลวงงดงาม  ลือนามหอมกระเทียม   ลำไยรสเยี่ยม   พระเจ้าสะเลียมหวานเลิศล้ำ   น้ำตกงามแท้  แค่หลวงงามตา  บูชาพระเจ้าตนหลวง  บวงสรวงพระบาทสามยอด”
         แค่หลวงงามตา …..หมายถึง  ประเพณีการแห่แค่หลวง  ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวอำเภอบ้านโฮ่ง  จังหวัดลำพูน
คำว่า “ แค่ ”  เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย    มีลักษณะเป็นไม้มัดกำ   ทำมาจากไม้ไผ่ จักเป็นซี่ ๆ    หรือไม้อย่างอื่นที่สามารถติดไฟได้ง่าย      ไม้ที่ใช้จะเลือกเอาที่เป็นไม้แห้ง ๆ  นำมามัดเป็นกำรวมกัน   ใหญ่กว่ากำมือเล็กน้อย   ยาวไม่เกิน  ๑  เมตร  หรือให้พอดีกับการถือ
ประโยชน์ในการใช้สอยไม้แค่       เนื่องจากคนล้านนาสมัยโบราณไม่มีตะเกียงหรือไฟฉายใช้กัน  จึงใช้ไม้แค่จุดไฟให้สว่างเพื่อส่องทางเดินในเวลาค่ำคืน      เหมือนไต้ไฟหรือคบเพลิง  เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง     ก็จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา
ในสมัยล้านนาโบราณ  ชาวบ้านได้กำหนดให้มีพิธีการแห่แค่ไปถวายพระสงฆ์ในวัด       แล้วจุดถวายเป็นพุทธบูชาในวันยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนสิบสอง    อันเป็นพิธีหนึ่งใน  วันลอยกระทง  กล่าวคือ  ในตอนเช้าตรู่ของวันยี่เป็ง วัดทุกวัดจะมีการเทศน์มหาชาติ    ตอนสายจะมีการทำบุญตักบาตรและในตอนกลางคืน   ชาวบ้านจะจัดทำต้นแค่  โดยจะช่วยกันประดับตกแต่งด้วยโคมไฟ  หรือสิ่งต่าง ๆ อย่างสวยงามแล้วตั้งขบวนแห่กันไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา     ต่อจากนั้นก็จะจุดไฟที่ต้นแค่ให้ลุกสว่างไสวไปทั่วบริเวณวัด   เพื่อเป็นพุทธบูชา     แล้วจึงไปลอยกระทงเพื่อบูชาพระแม่คงคาและปล่อยเคราะห์กรรมต่าง ๆ  ให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำ
เมื่อกาลเวลาล่วงเลยมายาวนาน  ประเพณีการจุดไม้แค่ได้ถูกลืมเลือนหายไปในหลายที่หลายแห่งเพราะได้มีการ    นำเอาธูปเทียนหรือประทีปมาจุดแทนเนื่องจากหาซื้อได้ง่ายและสะดวกกว่า       แต่ชาวอำเภอบ้านโฮ่ง  ได้เล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญจึงยังคงมีการสืบสาน        และอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหายไปซึ่งกล่าวกันว่าในอดีตกาล  วัดดงฤาษีซึ่งเป็นวัดที่เก่าแก่ของอำเภอบ้านโฮ่ง  มีฤาษีสองตนมาบำเพ็ญพรตอยู่             และมีความเชื่อกันว่านอกจากจะจุดแค่เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้ว         ยังจุดเพื่อบูชาพระฤาษีอีกด้วย
ในสมัยปัจจุบัน  การจุดแค่ในอำเภอบ้านโฮ่ง      ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยนิยมคือมีการจัดเป็น      ๒  รูปแบบ  ได้แก่ 
รูปแบบที่ ๑   ก่อนวันยี่เป็ง  ๑  วัน  ชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำต้นแค่    โดยจะประดับตกแต่งให้สวยงามแล้วขอสูมาต้นแค่แล้วจึงแห่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา   หรือบางแห่งก็จะมีการประกวดต้นแค่ด้วย
รูปแบบที่ ๒  ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอบ้านโฮ่งได้จัดงานแค่หลวงขึ้น ณ ที่ว่าการอำเภอบ้านโฮ่งทุกปี     โดยจะเชิญหมู่บ้าน  ตำบล  หน่วยงานราชการ  หน่วยงานเอกชนต่าง ๆ  จัดทำต้นแค่หลวง ( หลวง  หมายถึง  ใหญ่ ) มาประกวดกันซึ่งการประกวดนั้น      มีการตัดสินในเรื่องของรูปแบบขบวนนางงามแค่หลวง    ความคิดสร้างสรรค์    ความสวยงาม  ฯลฯ
ตลอดจนได้จัดให้มีมหรสพต่าง ๆ มากมายเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกทางหนึ่งด้วย
ประเพณีการแห่แค่หลวงเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าควรแก่การสืบทอดให้ชนรุ่นหลังต่อไป

ประเพณีแห่แคร่
     เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานาน คือการนำแคร่ไปวัดเพื่อนำไปจุดไฟเป็นพุทธบูชาให้กับพระพุทธเจ้า เมื่อไปเข้าเฝ้าในเวลากลางคืน หรือตอนที่มีการจัดงานในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันเพ็ญเดือนสิบสอง หรือที่ชาวเหนือเรียกว่าวันยี่เป็ง สำหรับอำเภอพาน ก็ได้มีการรักษาประเพณีนี้โดยวัดบวกขอน(วัดศรีเมืองมูล) ก็ได้มีการนำแคร่(ไม้ไผ่) มามัดรวมกันเป็นต้นแคร่ แต่ละหมวดบ้านก็จะตกแต่งต้นแคร่ของตนให้สวยงามเพื่อจะได้นำไปจุดถวายเป็นพุทธบูชาทุกปี เป็นการรักษาไว้ซึ่งประเพณีอันดีงามสืบมาจนถึงทุกวันนี้
ประเพณีการแห่แค่หลวง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวบ้านโฮ่ง (แค่ เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนา จะใช้จุดไฟให้สว่าง เพื่อส่องทางในเวลาค่ำคืน มีลักษณะเหมือนใต้ไฟหรือคบเพลิง เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา  แต่ในปัจจุบันชาวอำเภอบ้านโฮ่ง มีการสืบสานและอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้ อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหาย จึงมีการจัดประเพณีการแห่แค่หลวงขึ้น ในเพ็ญเดือนยี่เป็ง(เพ็ญเดือนสิบสอง) หนึ่งวันตกเดือนพฤศจิกายนของทุกปี  มีการประดับประดาด้วยโคมไฟและลวดลายวิจิตรงดงาม     จัดขึ้น ณ หน้าที่ว่าการอำเภอบ้านโฮ่ง เป็นประจำทุกปี
ประเพณีแห่แค่หลวง

ประเพณีแห่แค่หลวงของจังหวัดลำพูน เป็นประเพณีที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดลำพูน      โดยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปี และเป็นวัฒนธรรมที่ดีงามในอำเภอบ้านโฮ่ง  ซึ่งสอดคล้องกับคำขวัญของอำเภอบ้านโฮ่งที่ว่า   “ ถ้ำหลวงงดงาม   ลือนามหอมกระเทียม   ลำไยรสเยี่ยม    พระเจ้าสะเลียมหวานเลิศล้ำ   น้ำตกงามแท้   แค่หลวงงามตา    บูชาพระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพระบาทสามยอด”
แค่หลวงงามตา หมายถึง ประเพณีการแห่แค่หลวง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของชาวบ้านอำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน (อาจจะบอกได้ว่ามีแห่งเดียวในโลก)
             คำว่า “แค่” เป็นภาษาพื้นบ้านล้านนาไทย    (ยังไม่มีการควบกล้ำอักษร) มีลักษณะเป็นไม้มัดกำ  ทำมาจากไม้ไผ่จักเป็นซี่ๆหรือไม้อย่างอื่นๆ   ที่สามารถติดๆ  ไฟได้ง่าย เป็นไม้แห้งๆนำมามัดเป็นกำรวมกัน ใหญ่กว่ากำมือเล็กน้อยยาวไม่เกิน ๑ เมตรหรือให้พอดีกับการถือ (คล้ายกับคำว่า “แคร่”ในพจนานุกรม หมายถึงที่นั่งหรือนอน มัดทำด้วยฟากหรือไม่ไผ่ซี่ๆ  ถักติดกัน ฯลฯ)
 ประโยชน์ ในการใช้สอยไม้แค่ เนื่องจากล้านนาสมัยโบราณ ไม่มีไฟฉายหรือตะเกียงจึงใช้ไม้แค่จุดไฟให้สว่างเพื่อส่องทางในเวลาค่ำคืน เหมือนไต้ไฟหรือคบเพลิง เมื่อยามเทศกาลลอยกระทงในเดือนยี่เป็ง ก็จะใช้ไม้แค่จุดไฟถวายเป็นพุทธบูชา
ในสมัยล้านนาโบราณ ชาวบ้านได้กำหนดให้มีพิธีการ แห่แค่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดแล้วจุดถวายเป็นพุทธบูชา ในวันยี่เป็งหรือวันเพ็ญเดือนสิบสอง อันเป็นพิธีหนึ่งในวัดลอยกระทงกล่าวคือ ในตอนเช้าตรู่ของวันยี่เป็ง วัดทุกวัดจะมีการเทศน์มหาชาติ ตอนสายจะมีการทำบุญตักบาตรและในตอนกลางคืน ชาวบ้านจะจัดทำต้นแค่ โดยจะช่วยกันประดับตกแต่งด้วยโคมไฟหรือสิ่งต่างๆอย่างสวยงามแล้วตั้งขบวนแห่กันไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธา ต่อจากนั้นก็จะจุดไฟที่ต้นแค่ให้ลุกสว่างไสวไปทั่วบริเวณวัด เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้วจึงไปลอยกระทงเพื่อบูชาพระแม่คงคาและปล่อยเคราะห์กรรมต่างๆ ให้ล่องลอยไปตามแม่น้ำ
เมื่อกาลเวลาล่วงเลยมายาวนานประเพณีการจุดไม้แค่ก็ได้ถูกลืมเลือนไปในหลายที่หลายแห่งเพราะได้มีการนำเอาธูปเทียนหรือประทีปมาจุดแทน เนื่องจากหาซื้อได้ง่ายและสะดวกกว่า แต่ชาวอำเภอบ้านโฮ่งได้เล็งเห็นความสำคัญจึงยังคงมีการสืบสาน และอนุรักษ์ประเพณีการจุดแค่เอาไว้ อย่างต่อเนื่องไม่ให้สูญหายไป ซึ่งกล่าวกันว่าในอดีตกาล วัดดงฤาษี ซึ่งเป็นวัดที่เก่าแก่ของ อ.บ้านโฮ่ง มีฤาษีสองตนมาบำเพ็ญพรตอยู่ และความเชื่อกันว่า นอกจากจะจุดแค่เพื่อเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังจุดเพื่อบูชาพระฤาษีอีกด้วย
ในสมัยปัจจุบัน การจุดแค่ใน อ.บ้านโฮ่ง ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยนิยม คือมีการจัดเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่
รูปแบบที่ 1 ก่อนวันยี่เป็ง 1 วัน ชาวบ้านจะช่วยกันจัดทำต้นแค่ โดยจะประดับตกแต่งให้สวยงามแล้วขอสูมาต้นแค่ แล้วจึงแห่ไปถวายพระสงฆ์ในวัดที่ตนศรัทธาหรือในบางแห่งก็จะมีการประกวดต้นแค่ด้วย
รูปแบบที่ 2 สภาวัฒนธรรมอำเภอบ้านโฮ่งร่วมกับเทศบาลตำบลบ้านโฮ่งเป็นหลัก องค์การบริหารส่วนตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน องค์กรเอกชน หน่วยงานราชการต่างๆ องค์การบริหารส่วนจังหวัด  โดยจะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานจัดงานประเพณีแห่แค่หลวง ประจำปี โดยมีกิจกรรมการประกวด      ต้นแค่หลวง (หลวง  หมายถึง  ใหญ่) ของหมู่บ้าน ตำบล หน่วยงานราชการ หน่วยงานเอกชนต่างๆ ซึ่งการประกวดนั้น มีการตัดสินในเรื่องรูปแบบขบวน นางงามแค่หลวง     (ธิดาแค่หลวง)  ความคิดสร้างสรรค์ ความสวยงาม ฯลฯ ตลอดจนจัดให้มีการประกวดอื่นๆ เพื่อความบันเทิงและรักษาวัฒนธรรมเช่น ประกวดร้องเพลง บอกไฟดอก กระทงประดิษฐ์ แค่จำลอง เจดีย์ทราย เป็นต้น ประเพณีการแห่แค่หลวงเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าควรแก่การสืบทอดให้ชนรุ่นหลังต่อไป :: ดูหน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นายสุรพงษ์ จ๋าก๋าง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 268 คน กำลังออนไลน์