• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0be451de8125569d6f0235d05d556b7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u4695/chang.gif\" style=\"width: 136px; height: 168px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"359\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">        <span style=\"color: #008000\">  ประวัติและความเป็นมา</span></span> ประเพณีแห่ช้างเผือกนี้จัดทำขึ้นเมื่อใด ปีใดไม่มีใครทราบ จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่พอรู้ว่าถ้าปีไหนเกิดวิกฤติการณ์ทางธรรมชาติบ้านเมืองเกิดแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล แม่น้ำ-บ่อน้ำแห้งขอด น้ำกินน้ำใช้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ชาวบ้านจะจัดพิธีขอฟ้าขอฝนขึ้นมา โดยเฉพาะจะทำกันในช่วงเดือนกรกฎาคม(เดือนเก้า ของทางภาคเหนือ) ก่อนเข้าพรรษาเพราะเป็นฤดูกาลที่ชาวนาจะต้องหว่านกล้า (เอาเมล็ดข้าวเปลือกไปหว่านเพราะชำแล้วย้ายไปปลูก ดำในนา)ประเพณีการแห่ช้างเผือก เพิ่งได้รับการรื้อฟื้นขึ้นมา เมื่อประมาณ 20 ปีที่แล้ว เพราะว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทำให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนไปจากการอยู่แบบพึ่งพาธรรมชาติกลายเป็นทำลายกอบโกยผลประโยชน์เข้าตัวเอง เมื่อเกิดเครือข่ายคนลุ่มน้ำลี้ก็ได้มีการฟื้นฟูประเพณีนี้ขึ้นมา เพื่อแสดงถึงความเคารพต่อสายน้ำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">น้ำลี้เป็นแม่น้ำสาขาของลำน้ำปิง</span> ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตผู้คนและเสมือนเป็นเส้นเลือดใหญ่ที่ได้ไหลหล่อเลี้ยงชีวิตของผู้คนในจังหวัดลำพูน ลำน้ำลี้มีความ <span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">ยาว 180 กิโลเมตร จาก</span></span>แหล่งต้นกำเนิดที่บ้านหนองหลัก อ.ทุ่งหัวช้าง จนถึงสบลี้ ที่จรดกับลำน้ำแม่ปิง ที่บ้านวังสะแกง กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง ครอบคลุมพื้นที่ทาง การเกษตร <span style=\"background-color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">1,300,392 ตารางกิโลเมตร</span></span> ในพื้นที่ 4 อำเภอ คือ อ.ทุ่งหัวช้าง อ.ลี้ อ.บ้านโฮ่ง และกิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง ความเชื่อเกี่ยวกับช้างเผือก ช้างเผือกเป็นช้างมงคลหากเกิดขึ้นในบ้านเมืองใด จะทำให้บ้านเมืองนั้นอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค มีฝนตกต้องตามฤดูกาล บ้านเมืองจะชุ่มฉ่ำอยู่เย็นเป็นสุข ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ จะชนะศึกศัตรูหมู่มาร ทุกหมู่เหล่า ช้างเผือกเมื่อเกิดมีในบ้านเมืองใด ชาวบ้านหรือเจ้าของช้าง ส่วนมากมักจะต้องนำช้างไปถวายเจ้าเมืองผู้ครองนครบ้านเมืองนั้น ชาวบ้าน หรือเจ้าของช้างจะไม่เลี้ยงเอาไว้เหมือนช้างเชือกอื่นๆ ลักษณะของช้างเผือกหรือช้างมงคลนั้น นักปราชญ์ท่านกล่าวไว้ ถึงลักษณะ 7 ประการ คือ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. ตาขาว มีดวงตาสีขาวเรื่อๆเหมือนตาน้ำข้าว แก้วตาใส เรืองรองเป็นประกายแก้วผลึก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">2. เพดานขาว</span> มีเพดานปากขาวดุจเนื้อในของเผือกมัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">3. เล็บขาว</span> มีเล็บขาวเหมือนงาของมันเองทั้งหมด หนังหุ้มเล็บสม่ำเสมอ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">4. พื้นหนังขาว</span> สีคล้ายหม้อดินใหม่ ทั่วสรรพางค์กาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"> 5. ขนหางขาว</span> มีขนที่หางขาวเป็นพวงพุ่มลดหลั่นกันจนถึงน่องตอนล่างระหว่าง เท้าหลัง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">6. ขนขาว</span> มีขนทั่วสรรพางค์กายเป็นสีขาวนวล แต่ละขุมชนมีเส้นขนออกสม่ำเสมอกันขุมละหนึ่งเส้นและยาวเสมอกัน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffff99\">7. อัณฑะขาว</span> มีสีคล้ายหม้อดินใหม่ คือมีของลับเมื่อแข็งตัวโผล่ออกมาจาก นอกเบ้าจะมีสีขาวหรือสีเป็นเหมือนเนื้อของเผือกมัน</span> หรือดุจสีของหม้อดิน ใหม่ ซึ่งมีสีค่อนข้างคล้ายดินอ่อน ลักษณะช่นที่กล่าวมาถือได้ว่าเป็นลักษณะของช้างมงคลมีเรื่องราวของช้างมวคลนี้ปรากฏในเวสสันดรชาดก คือ ในเมืองเชตุดรมีช้างคุ่บ้านคู่เมืองเชือกหนึ่ง มีลักษณะอันเป็นมงคลเช่นที่ได้กล่าวมาอยู่ในพระราชวังของพระยาศรีสัญชัย ซึ่งมีพระเวสสันดรเป็นผู้ครองแผ่นดินอยู่ พระเวสสันดรเป็นเจ้าผู้มีพระราชหฤทัยใฝ่ในการให้ทานเป็นอันมาก ทางทุกอย่าง ทานแม้กระทั้งพระโอรสและพระธิดา หรือแม้กระทั่งนางมัททรีผู้เป็นพระชายา พระเวสสันดรได้ทานช้างเผือกนั้นให้แก่ชาวเมืองกลิงคราษฎร์ ซึ่งมีวิกฤตทางธรรมชาติเกิดขึ้นในบ้านเมือง บ้านเมืองแห้งแล้ง ฝนไม่ตกมาหลายปี น้ำในมาน้ำ บ่อแห้งขอด พืชพันธ์ล้มตายทั้งเมือง ชาวเมืองจึงต้องส่งตัวแทนไปขอช้างมงคลจากพระเวสสันดร หลังจากที่ชาวเมืองกลิงคราษฎร์ได้ช้างเผือกไปไว้ในเมืองแล้วฝนฟ้าก็ตกต้องตามฤดูกาล ทำให้บ้านเมืองชุ่มฉ่ำ มีน้ำกินน้ำใช้ขึ้นมาทันที ชาวไร่ชาวนาได้ประกอบอาชีพทำไร่ทำนากันอย่างสบายใจ หลังจากที่พระเวสสันดรได้ถวายช้างเผือกไปแล้วนั้นชาวเมืองจึงเข้าร้องเรียนกับพระยาสัญชัยว่าพระเวสสันดรเป็นคนไม่ดีทำให้บ้านเมืองเสียหาย พระยาสัญชัยได้ฟังคำร้องเรียนจากชาวเมืองจึงเนรเทศพระเวสันดร นามมัททรี พร้อมด้วยกัณหาและชาลีออกจากเมือง ไปบวชเป็นฤาษีในเขาวงกต พวกเราชาวพุทธได้รับฟังธรรมพระเวสสันดรชาดกกันมาโดยตลอด คงทราบเรื้องนี้กันเป็นอย่างดี หากปีไหนบ้านเมืองแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล จึงคิดค้นจัดทำพิธีแห่ช้างเผือกมงคล ขอฟ้าขอฝนข้างต้น ผู้เขียนก็ได้รับการบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่โดยสังเขปเพียงเท่านี้ วัตถุประสงค์ของประเพณีแห่ช้างเผือกเพื่อ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\">1.) เพื่อให้มีฟ้าฝนอุดมสมบูรณ์ถูกต้องตามฤดูกาล</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"> <span style=\"color: #0000ff\"> 2.) เพื่อรวบรวมคนในลุ่มน้ำลี้<span style=\"color: #000000\">เพรา</span>ะ</span></span><span style=\"color: #0000ff\">ว่าน้ำลี้มีฝายหลัก ๆ</span> อยู่ 42 ฝายใหญ่เมื่อเสร็จจากแห่ช้างเผือก เราตกลงกันว่ามีการตั้งเครือข่ายคน ลุ่มน้ำลี้ เมื่อมีคนในเครือข่ายคนลุ่ม น้ำลี้รู้จักกันตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ก็จะประชุมแก้ไขปัญหา เรื่องป่าถูกทำลาย ต้นน้ำ ถูกทำลาย การปลูกป่า การดูแลรักษา และปัญหาอย่างอื่นก็คิดว่ามันเป็นงานที่ฟื้นฟู พิธีกรรมการแห่ช้างเผือก พิธีกรรมการแห่ช้างเผือกที่แห่จากปลายน้ำสู่ต้นน้ำ ได้สะท้อนถึงแรงศรัทธา ความเคารพรักและหวงแหนที่มนุษย์ ตัวเล็กๆ จะพึงตอบแทนแก่แม่น้ำที่เป็นเหมือนเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงให้ทุกคนได้อยู่ได้กิน เป็นแหล่งกำเนิดที่ช่วยอุ้มชูให้ชีวิตยังดำเนินต่อไปและ พิธีกรรมแห่ช้างเผือกนับได้ว่าเป็นพิธีกรรมที่ทำหน้าที่กระตุ้นเตือนจิตสำนึกและสร้างการมีส่วนร่วมของผู้คนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องได้เป็นอย่างดีกับแนวทางการอนุรักษ์ประเพณีที่เก่าแก่แต่มีคุณค่าโดยผ่านพิธีกรรมความเชื่อของประชาชนในลุ่มน้ำลี้ <span style=\"color: #ff0000\">ในประเพณีงานแห่ช้างเผือก </span>\n</p>\n<p>\n:: ดูหน้าต่อไป\n</p>\n', created = 1715421569, expire = 1715507969, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0be451de8125569d6f0235d05d556b7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีท้องถิ่นล้านนา

รูปภาพของ surapong2520

 

          ประวัติและความเป็นมา ประเพณีแห่ช้างเผือกนี้จัดทำขึ้นเมื่อใด ปีใดไม่มีใครทราบ จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่พอรู้ว่าถ้าปีไหนเกิดวิกฤติการณ์ทางธรรมชาติบ้านเมืองเกิดแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล แม่น้ำ-บ่อน้ำแห้งขอด น้ำกินน้ำใช้ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ชาวบ้านจะจัดพิธีขอฟ้าขอฝนขึ้นมา โดยเฉพาะจะทำกันในช่วงเดือนกรกฎาคม(เดือนเก้า ของทางภาคเหนือ) ก่อนเข้าพรรษาเพราะเป็นฤดูกาลที่ชาวนาจะต้องหว่านกล้า (เอาเมล็ดข้าวเปลือกไปหว่านเพราะชำแล้วย้ายไปปลูก ดำในนา)ประเพณีการแห่ช้างเผือก เพิ่งได้รับการรื้อฟื้นขึ้นมา เมื่อประมาณ 20 ปีที่แล้ว เพราะว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ทำให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนไปจากการอยู่แบบพึ่งพาธรรมชาติกลายเป็นทำลายกอบโกยผลประโยชน์เข้าตัวเอง เมื่อเกิดเครือข่ายคนลุ่มน้ำลี้ก็ได้มีการฟื้นฟูประเพณีนี้ขึ้นมา เพื่อแสดงถึงความเคารพต่อสายน้ำ

น้ำลี้เป็นแม่น้ำสาขาของลำน้ำปิง ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อวิถีชีวิตผู้คนและเสมือนเป็นเส้นเลือดใหญ่ที่ได้ไหลหล่อเลี้ยงชีวิตของผู้คนในจังหวัดลำพูน ลำน้ำลี้มีความ ยาว 180 กิโลเมตร จากแหล่งต้นกำเนิดที่บ้านหนองหลัก อ.ทุ่งหัวช้าง จนถึงสบลี้ ที่จรดกับลำน้ำแม่ปิง ที่บ้านวังสะแกง กิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง ครอบคลุมพื้นที่ทาง การเกษตร 1,300,392 ตารางกิโลเมตร ในพื้นที่ 4 อำเภอ คือ อ.ทุ่งหัวช้าง อ.ลี้ อ.บ้านโฮ่ง และกิ่งอำเภอเวียงหนองล่อง ความเชื่อเกี่ยวกับช้างเผือก ช้างเผือกเป็นช้างมงคลหากเกิดขึ้นในบ้านเมืองใด จะทำให้บ้านเมืองนั้นอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค มีฝนตกต้องตามฤดูกาล บ้านเมืองจะชุ่มฉ่ำอยู่เย็นเป็นสุข ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ จะชนะศึกศัตรูหมู่มาร ทุกหมู่เหล่า ช้างเผือกเมื่อเกิดมีในบ้านเมืองใด ชาวบ้านหรือเจ้าของช้าง ส่วนมากมักจะต้องนำช้างไปถวายเจ้าเมืองผู้ครองนครบ้านเมืองนั้น ชาวบ้าน หรือเจ้าของช้างจะไม่เลี้ยงเอาไว้เหมือนช้างเชือกอื่นๆ ลักษณะของช้างเผือกหรือช้างมงคลนั้น นักปราชญ์ท่านกล่าวไว้ ถึงลักษณะ 7 ประการ คือ

1. ตาขาว มีดวงตาสีขาวเรื่อๆเหมือนตาน้ำข้าว แก้วตาใส เรืองรองเป็นประกายแก้วผลึก

2. เพดานขาว มีเพดานปากขาวดุจเนื้อในของเผือกมัน

3. เล็บขาว มีเล็บขาวเหมือนงาของมันเองทั้งหมด หนังหุ้มเล็บสม่ำเสมอ

4. พื้นหนังขาว สีคล้ายหม้อดินใหม่ ทั่วสรรพางค์กาย

 5. ขนหางขาว มีขนที่หางขาวเป็นพวงพุ่มลดหลั่นกันจนถึงน่องตอนล่างระหว่าง เท้าหลัง

6. ขนขาว มีขนทั่วสรรพางค์กายเป็นสีขาวนวล แต่ละขุมชนมีเส้นขนออกสม่ำเสมอกันขุมละหนึ่งเส้นและยาวเสมอกัน

7. อัณฑะขาว มีสีคล้ายหม้อดินใหม่ คือมีของลับเมื่อแข็งตัวโผล่ออกมาจาก นอกเบ้าจะมีสีขาวหรือสีเป็นเหมือนเนื้อของเผือกมัน หรือดุจสีของหม้อดิน ใหม่ ซึ่งมีสีค่อนข้างคล้ายดินอ่อน ลักษณะช่นที่กล่าวมาถือได้ว่าเป็นลักษณะของช้างมงคลมีเรื่องราวของช้างมวคลนี้ปรากฏในเวสสันดรชาดก คือ ในเมืองเชตุดรมีช้างคุ่บ้านคู่เมืองเชือกหนึ่ง มีลักษณะอันเป็นมงคลเช่นที่ได้กล่าวมาอยู่ในพระราชวังของพระยาศรีสัญชัย ซึ่งมีพระเวสสันดรเป็นผู้ครองแผ่นดินอยู่ พระเวสสันดรเป็นเจ้าผู้มีพระราชหฤทัยใฝ่ในการให้ทานเป็นอันมาก ทางทุกอย่าง ทานแม้กระทั้งพระโอรสและพระธิดา หรือแม้กระทั่งนางมัททรีผู้เป็นพระชายา พระเวสสันดรได้ทานช้างเผือกนั้นให้แก่ชาวเมืองกลิงคราษฎร์ ซึ่งมีวิกฤตทางธรรมชาติเกิดขึ้นในบ้านเมือง บ้านเมืองแห้งแล้ง ฝนไม่ตกมาหลายปี น้ำในมาน้ำ บ่อแห้งขอด พืชพันธ์ล้มตายทั้งเมือง ชาวเมืองจึงต้องส่งตัวแทนไปขอช้างมงคลจากพระเวสสันดร หลังจากที่ชาวเมืองกลิงคราษฎร์ได้ช้างเผือกไปไว้ในเมืองแล้วฝนฟ้าก็ตกต้องตามฤดูกาล ทำให้บ้านเมืองชุ่มฉ่ำ มีน้ำกินน้ำใช้ขึ้นมาทันที ชาวไร่ชาวนาได้ประกอบอาชีพทำไร่ทำนากันอย่างสบายใจ หลังจากที่พระเวสสันดรได้ถวายช้างเผือกไปแล้วนั้นชาวเมืองจึงเข้าร้องเรียนกับพระยาสัญชัยว่าพระเวสสันดรเป็นคนไม่ดีทำให้บ้านเมืองเสียหาย พระยาสัญชัยได้ฟังคำร้องเรียนจากชาวเมืองจึงเนรเทศพระเวสันดร นามมัททรี พร้อมด้วยกัณหาและชาลีออกจากเมือง ไปบวชเป็นฤาษีในเขาวงกต พวกเราชาวพุทธได้รับฟังธรรมพระเวสสันดรชาดกกันมาโดยตลอด คงทราบเรื้องนี้กันเป็นอย่างดี หากปีไหนบ้านเมืองแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล จึงคิดค้นจัดทำพิธีแห่ช้างเผือกมงคล ขอฟ้าขอฝนข้างต้น ผู้เขียนก็ได้รับการบอกเล่าจากผู้เฒ่าผู้แก่โดยสังเขปเพียงเท่านี้ วัตถุประสงค์ของประเพณีแห่ช้างเผือกเพื่อ

1.) เพื่อให้มีฟ้าฝนอุดมสมบูรณ์ถูกต้องตามฤดูกาล

  2.) เพื่อรวบรวมคนในลุ่มน้ำลี้เพราว่าน้ำลี้มีฝายหลัก ๆ อยู่ 42 ฝายใหญ่เมื่อเสร็จจากแห่ช้างเผือก เราตกลงกันว่ามีการตั้งเครือข่ายคน ลุ่มน้ำลี้ เมื่อมีคนในเครือข่ายคนลุ่ม น้ำลี้รู้จักกันตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ก็จะประชุมแก้ไขปัญหา เรื่องป่าถูกทำลาย ต้นน้ำ ถูกทำลาย การปลูกป่า การดูแลรักษา และปัญหาอย่างอื่นก็คิดว่ามันเป็นงานที่ฟื้นฟู พิธีกรรมการแห่ช้างเผือก พิธีกรรมการแห่ช้างเผือกที่แห่จากปลายน้ำสู่ต้นน้ำ ได้สะท้อนถึงแรงศรัทธา ความเคารพรักและหวงแหนที่มนุษย์ ตัวเล็กๆ จะพึงตอบแทนแก่แม่น้ำที่เป็นเหมือนเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงให้ทุกคนได้อยู่ได้กิน เป็นแหล่งกำเนิดที่ช่วยอุ้มชูให้ชีวิตยังดำเนินต่อไปและ พิธีกรรมแห่ช้างเผือกนับได้ว่าเป็นพิธีกรรมที่ทำหน้าที่กระตุ้นเตือนจิตสำนึกและสร้างการมีส่วนร่วมของผู้คนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสอดคล้องได้เป็นอย่างดีกับแนวทางการอนุรักษ์ประเพณีที่เก่าแก่แต่มีคุณค่าโดยผ่านพิธีกรรมความเชื่อของประชาชนในลุ่มน้ำลี้ ในประเพณีงานแห่ช้างเผือก

:: ดูหน้าต่อไป

สร้างโดย: 
นายสุรพงษ์ จ๋าก๋าง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 346 คน กำลังออนไลน์