• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:35f273efffd9da0a3f6d388bd082a81d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img src=\"/files/u4695/pic1_2.gif\" style=\"width: 143px; height: 178px\" border=\"0\" width=\"250\" height=\"301\" />\n</p>\n<p>\n<atomicelement id=\"ms__id5359\"></atomicelement><b><i><highlighttext id=\"ms__id5360\"></highlighttext>       </i></b><span style=\"color: #0000ff\"><b><i><span style=\"background-color: #00ff00; color: #ff0000\">ความเชื่อแต่โบราณว่า</span>  </i></b><span style=\"color: #000000\">การเกิดเมืองหรือการสร้างเมืองนั้น  สร้างตามฤกษ์ยามที่เป็นมหามงคลตบะ  เตชะ  เหมือนกับการเกิดของประชาชนที่มีความสุข ความเจริญ ความสุข ความสมหวัง และบางครั้งก็เสื่อมโทรมอับเฉาเศร้าหมอง นานัปการเมื่อประสบปัญหาเหล่านี้ ชาวล้านนาไทยมีความเชื่อว่า หากได้ทำบุญสืบชะตาจะช่วยให้ทุกสิ่งทุกอย่างดีขึ้น เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม จึงปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน การสืบชะตา </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #000000\">ได้แก่ การสืบชะตาการเกิด  สืบอายุ  สืบชีวิต  ให้ยืนยาว ออกไปนานเท่านาน  ผู้ใดปรารถนาจะมีอายุยืนควรประกอบพิธีสืบชะตาเป็นประจำทุกปี </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><b><i><span style=\"background-color: #00ff00; color: #000000\">วัตถุประสงค์การสืบชะตา</span><br />\n</i></b><span style=\"color: #000000\">        1. เพื่อต่ออายุให้ยืนยาว                                             <br />\n2. เพื่อขจัดบัดเป่าสิ่งชั่วร้ายทั้งหลาย                                                                          <br />\n3. เพื่อบำรุงขวัญ                                                                                              <br />\n4. เพื่อให้เกิดความสามัคคี                                                                                               <br />\n5. เพื่อสร้างความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพชน                                                                 <br />\n6. เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของบ้านเมือง</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #00ff00\"><b><i> </i></b></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #00ff00\"><b><i>ประเภทของการสืบชะตา</i></b></span>  <span style=\"color: #000000\">การสืบชะตา แบ่งออกเป็น<span style=\"color: #ff0000\"> 3 </span> ประเภท คือ<br />\n1.  สืบชะตาคนและสัตว์<br />\n2.  สืบชะตาบ้าน<br />\n3.  สืบชะตาเมือง</span>  </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">   </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #ffff00\"><b><i>สืบชะตาคนหรือสัตว์</i></b></span>  <span style=\"color: #000000\">ทำกันมาก ด้วยความหวังและความตั้งใจต่างกัน เช่น<br />\n- เมื่อเจ็บป่วย      <br />\n-  เมื่อรู้สึกไม่สบายใจ<br />\n- เมื่อจะเดินทางไปสู่ที่อื่น<br />\n-  เมื่อเข้าสู่ที่อยู่ใหม่<br />\n-  เมื่อแต่งงาน                 <br />\n-  เมื่อขึ้นบ้านใหม่                         <br />\n-  เมื่ออายุครบรอบ<br />\n-  เมื่อได้ตำแหน่งหรือเลื่อนยศ</span>                                             </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><b><i>พิธีกรรม</i></b></span><br />\n<span style=\"color: #000000\">การสืบชะตามีพิธีกรรมที่สำคัญ คือ เครื่องพิธีสืบชะตา ประกอบด้วย<br />\n-<span style=\"color: #ff0000\"> ไม้ค้ำ </span> มีความหมายว่า จะค้ำจุนชีวิตให้มั่นคง<br />\n- <span style=\"color: #ff0000\">ขัวไต่</span> หมายถึง สะพานชีวิตที่จะมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น<br />\n- <span style=\"color: #ff0000\">ขั้นไดเงิน </span> ขั้นไดคำ ขั้นไดนาก หมายถึง  บันไดเงินทอง และนาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีงามที่จะก้าวขึ้นไปสู่ความเจริญ  มะพร้าวงอก หน่อกล้วย หน่ออ้อย เป็นเครื่องหมายแห่งความเจริญงอกงาม  และ  ก่อประโยชน์มากมาย</span></span></span><atomicelement id=\"ms__id7848\"></atomicelement><span style=\"color: #000000\"><highlighttext id=\"ms__id7849\"></highlighttext> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><b><i><span style=\"background-color: #00ffff\">ขันตอนพิธีกรรมอื่น ๆ</span></i></b><br />\n<span style=\"color: #000000\">     1. นิมนต์พระสงฆ์  9  รูป<br />\n2. ทำพิธีขึ้น<span style=\"font-size: xx-small\">ท้าว</span>ทั้ง  4  หรือบูชาท้าวโลกบาล<br />\n3. ตั้งเครื่องชะตาไว้ในห้องพิธี<br />\n4. ผู้สืบชะตาเข้านั่งในซุ้มสืบชะตา<br />\n5. ปู่อาจารย์  หรือพิธีกร อาราธนาศีลและพระปริตร<br />\n6. พระสงฆ์ให้ศีลและเจริญพระพุทธมนต์ มีสวดสืบชะตา<br />\n7. มีเทศน์ธรรมคัมภีร์ สารากริวิชานะสูตร  1 ผูก<br />\n8. พระสงฆ์ทำการประพรมน้ำพระพุทธมนต์ และผูกข้อมือแก่ผู้เข้าพิธีหรือผู้ร่วมพิธี<br />\n9. ถวายภัตตาหารและถวายไทยทาน</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"background-color: #00ff00\"><b>พิธีสืบชะตาปริศนาธรรมของคนล้านนา</b></span><br />\n<atomicelement id=\"ms__id1697\"></atomicelement><span style=\"color: #000000\"><highlighttext id=\"ms__id1698\"></highlighttext>         </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #000000\">ในวิถีชีวิตของคนล้านนาไทย  ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้  มีพิธีกรรมในพระ พุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต   ตั้งแต่เกิดจนตาย  คนล้านนาในสมัยโบราณมีความเชื่อมั่นศรัทธา  ในพระพุทธศาสนาจนฝังรากลึก  มองเห็นสิ่งต่างๆ  ในร่มเงาของวัดวาอารามเป็นของศักดิ์สิทธิ์  เวลาเดินเข้าวัดจะไม่ยอมสวมรองเท้าเพราะถือว่าเป็นการอยู่ที่สูง  ขาดความเคารพ  แต่โดยแท้จริงคนโบราณ</span><span style=\"color: #000000\">ต้องการให้เท้าได้สัมผัสกับดินทราย  ในวัดหรือที่เรียกว่า </span><span style=\"background-color: #ffff00\"> “  ข่วงแก้วตังสาม”  </span> <span style=\"color: #000000\">เพื่อให้ได้กลิ่นไอแห่งสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ซึมซับเข้าไปในร่างกายจิตใจนั่นเอง   เวลาเดินไปจะไม่ยอมเหยียบเงาพระธาตุเจดีย์  เงาพระสงฆ์ - สามเณรถือว่าเป็นบาป  เมื่อพบพระสงฆ์กลางทางจะนั่งยอง ๆ  ถ้าไม่ยกมือไหว้ก็จะรอให้พระผ่านไปก่อน  บางคนขี่จักรยานก็จะลงจากจักรยาน  สวมหมวก  กางร่มก็จะถอดหมวกพับร่มเสีย  จะเห็นได้ว่าวิถีชีวิตของชาวล้านนาโบราณให้ความเคารพนับถือ  พระสงฆ์สามเณร  มีความเคารพยำเกรงต่อวัดวาอาราม  เจดียสถานอย่างมาก  เพราะฉะนั้นพิธีกรรมต่างๆ   ที่สำคัญในการปรกอบพิธีและให้</span><span style=\"background-color: #ffff00\">พระสงฆ์ – สามเณร  อาจารย์ (มัคคทายก)</span>  <span style=\"color: #000000\">ให้คำปรึกษา  เป็นผู้จัดการทำให้ความผูกพันระหว่างบ้านกับวัด  ชาวบ้านกับชาววัดจึงแน่นแฟ้นไม่เสื่อมคลาย  ขนาดพืชพันธ์ธัญญาหาร   ส้มสุกลูกไม้  อะไรออกผล  ก่อนจะกินต้องนำไปถวายให้พระฉันก่อน  เพื่อเอาบุญจะไม่กิน  ก่อนจะถวายทาน  จึงมีคำกล่าวไว้ว่า</span> <span style=\"background-color: #ffff00\"> “บ่ดีกิ๋นก่อนต๋าน  บ่ดีมารก่อนแต่ง” </span>   <span style=\"color: #000000\">คือไม่ดี<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">          <span style=\"color: #0000ff\">กินก่อนให้ทาน  ไม่ดีมีลูกก่อนแต่งงาน  เพราะฉะนั้นหลังจากเก็บเกี่ยวจึงมีประเพณีทานข้าวใหม่</span></span></span></span></span><atomicelement id=\"ms__id8477\"></atomicelement><span style=\"color: #0000ff\"><highlighttext id=\"ms__id8478\"></highlighttext><span style=\"color: #000000\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"></span></span></p>\n<p>\n<i><b><span style=\"background-color: #00ff00\">ในการสืบชาตานั้น  เราจะเห็นว่ามีเครื่องประกอบพิธีดังนี้</span></b> </i><br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">๑. ไม้ค้ำยาวเท่าตัว  ๓  เล่ม  ทำจากไม้ง่ามมีขนาดเอากำมือรอบหรือดตกว่านั้นเล็กน้อย<br />\n๒. ไม้ค้ำเล็กขนาดเท่าหัวแม่มือยาว  ๑  ศอก  จำนวนเท่าอายุ  หรือมากขึ้นแต่ไม่เกิน  ๑๐๘<br />\n๓. บัดได  ๗  ขั้น  หรือ  ๙  ขั้น<br />\n๔. ทำกระดาษทอง   เงิน  หมากพลู   บุหรี่  เมี่ยง    ข้างตอก  ดอกไม้   ร้อยด้วยไหม   เรียกว่า  ลวดเงิน   ลวดคำ  ลวดหมาก ลวดเมี่ยง  นำมามัดกับบันไดที่ทำ<br />\n๕. หม้อน้ำดื่ม   และกระบวย<br />\n๖. เสื่อหมอนใช้ของใหม่<br />\n๗. ทำไม้สะพาน  ใช้ไม้ไผ่หรือไม้เนื้อแข็ง  เอา  ๒  อัน  ทำให้ติดกัน<br />\n๘. ตุงก้าคิง  คำนี้เป็นภาษาไทยใหญ่  หมายถึงยาวเท่าตัว  ตุงห้าคิง  หมายถึงธงยาวเท่าตัว<br />\n๙. เทียนก้าคิง   สีสายก้าคิง  คือเทียนที่ทำยาวเท่าตัว  และฝ้ายยาวเท่าตัวชุบด้วยน้ำมันพืชสำหรับจุดเป็นพุทธบุชา<br />\n๑๐. กระบอกทราย  หรือข้าวสาร  ใช้ไม้อ้อยาวเท่านิ้วบรรจุทราย  หรือข้าวสาร  จำนวน  ๒๐  กระบอก<br />\n๑๑. กระบอกน้ำ  ใช้ไม้อ้อเช่นเดียวกันจำนวน  ๑๒  กระบอก<br />\n๑๒.ผางประทีป  หรือเทียน  จำนวน  ๔  อัน  ถ้ามากเท่าอายุหรือเกินได้แต่ อย่าให้เกิน   ๑๐๘<br />\n๑๓. ช่อน้อย  ตุงไชย  จำนวน  ๖  หรือเท่าอายุ  แต่อย่าเกิน  ๑๐๘<br />\n๑๔. ข้าวเปลือก  หมื่นเท่ากับ   ๑๐  ลิตร   ข้าวสารพัน  เท่ากับ  /  ๑  ลิตร<br />\n๑๕. หน่อกล้วย  หน่ออ้อย  งอกมะพร้าว<br />\n๑๖.  กล้วยแก่  ๑     เครือ  มะพร้าว  ๑  คะแนง  (ทะลาย)<br />\n๑๗. สะตวง  หรือกระทงกาบกล้วยใส่สรรพโภชนาหาร<br />\n๑๘. ทำบายศรี  นมแมวจีบใบตองประดับดอกไม้ต่าง ๆ  และใส่ข้าว ขนม  ผลไม้<br />\n๑๙.  ฝ้ายมงคล  (ด้ายสายสิญจน์) </span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">      <span style=\"background-color: #00ff00\">ทั้งหมดนี้  </span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">ครูบาอาจารย์กำหนดให้นำมารวมกันตั้งไว้  โดยมีไม้ค้ำใหญ่<span style=\"color: #ff0000\">  ๓  อัน</span>  เป็นหลักให้ปลายไม้แต่ละเล่มค้ำสุมรวมกัน  แล้วนำของต่าง ๆ  วางไว้ที่โคนไม้ค้ำบ้าง  มักรวมกับไม้ค้ำบ้าง  ไว้ข้างบนสุดยอดไม้ค้ำบ้าง  แต่ละอย่างมีความหมายที่เป็นบุคลาธิษฐานคือธรรมะที่จะปฏิบัติให้เกิดความสุข  ซึ่งถ้าไม่พิจารณาโดยละเอียด  จะไม่พบธรรมะในเครื่องสืบชาตาเหล่านี้เลย<br />\nถ้าหากจะแบ่งของในพิธีกรรมสืบชาตานี้จะเห็นมีอยู่  <span style=\"color: #ff0000\">๔  ประเภท </span> คือ<br />\n</span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">๑. ประเภทใช้แทนหมู่คน<br />\n๒. ประเภทใช้แทนร่างกาย<br />\n๓. ประเภทใช้สอย  เครื่องอุปโภค บริโภคของคน<br />\n๔. ประเภทใช้เป็นอาหารคน</span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><atomicelement id=\"ms__id2384\"></atomicelement><span style=\"color: #000000\"><highlighttext id=\"ms__id2385\"></highlighttext> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><b>๑.  ประเภทใช้แทนหมู่คนนั้น   ได้แก่   ไม้ค้ำใหญ่  ไม้ค้ำเล็ก<br />\n</b></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #008000\">       ก.  ไม้ค้ำใหญ่  </span>๓  เล่มนี้  ถ้าสืบชาตาในครอบครัว   หรือสืบชาตา<br />\nชาวบ้านหมายถึงบุคคล  ๓  คน  คือ  พ่อ  แม่  ลูก  ซึ่งเป็นหลักใหญ่ของครอบครัวถ้าคนทั้ง  ๓  นี้  ยังค้ำจุนกันอยู่คือยังรักสมัครสมานสามัคคี  เมตตา  เอื้อเฟื้อเอาใจใส่  ไม่นอกใจกันไม่ทอดทิ้งกัน  ลูกยังเชื่อฟังพ่อแม่  พ่อแม่ยังเอาใจใส่ลูกเลี้ยงดูอบรมลูก ๆ  บ้านนั้น  ครอบครัวนั้นชาตาดี  คนนั้นชาตาไม่ขาด ถ้าสืบชาตาวัดวาอาราม  ไม้ค้ำ  ๓  เล่มนี้  หมายถึง  พระสงฆ์  สามเณร ศรัทธาญาติโยม  ทั้ง  ๓  พวกนี้เป็นหลักของวัด  <br />\n<span style=\"color: #008000\">       ข.  ไม้ค้ำเล็กขนาดเท่าหัวแม่มือยาว</span>  ๑  ศอก   จำนวนเท่าอายุ  หรือ  ๑๐๘  อัน  นั้นหมายถึงบุคคลผู้อยู่ร่วมบ้าน  ร่วมวัด  เช่น  ญาติ  บริวาร  เขย  สะใภ้  หรือเป็นลูกศิษย์อารามิกชน  คนอยู่ในวัด  ถ้ายังอยู่ปกติดี  ค้ำจุนอุดหนุน  อุปถัมภ์  บำรุงกันดี  เหมือนไม้ค้ำเล็กมัดรวมกันกับไม้ค้ำใหญ่สนับสนุนช่วยเหลือ  ชะตาบ้านก็ไม่ขาด  ชะตาวัดก็ไม่ขาด  ถ้าไม่หวังดี  ปรารถนาดีคอยขัดแย้งทำลาย  ชะตาบ้านนั้นขาด  วัดก็เช่นเดียวกัน  ไม้ค้ำนี้จึงเป็นธรรมะในข้อ  เมตตาธรรม  สามัคคีธรรม  ที่ปรากฏให้เห็นโดยปริศนา  แทนหมู่คน  ถ้ามีเมตตา  สามัคคี  ในหมู่คนทุกจำพวก  ชะตาก็จะดี  ชะตาก็ไม่ขาด</span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><b>๒.  ประเภทใช้แทนร่างกายคน</b></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\">  <span style=\"color: #000000\">ได้แก่  กระบอกทราย  หรือข้าวสาร  จำนวน  ๒๐  กระบอก  กระบอกน้ำ  ใช้ไม้อ้อเช่นเดียวกันจำนวน  ๑๒  กระบอก  ผางประทีป  หรือเทียน  จำนวน  ๔  อันถ้าหากมากเท่าอายุหรือเกินได้แต่อย่าให้เกิน  ๑๐๘  ตุงก้าคิง  ๑  ตัว  สีสายก้าคิง  ๑  เส้น  สิ่งเหล่านี้ใช้แทนร่างกายคน สำหรับร่างกายคนเรานั้น  ท่านกล่าวไว้ว่าประกอบด้วยธาตุ  ๔  ประชุมกัน  คือธาตุดิน  ธาตุน้ำ  ธาตุลม  ธาตุไฟ  รวมเป็นร่างกาย  แบ่งออกเป็น  ๒  ส่วน  คือรูปกับนาม  ซึ่งท่านกำหนดสิ่งของธาตุทั้ง  ๔  และรูปนามดังนี้</span><br />\n</span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><b>๓. ประเภทใช้สอย  เครื่องอุปโภค  บริโภคของคน</b></span> <span style=\"color: #000000\"> ซึ่งมีหลายอย่าง<br />\n<span style=\"color: #ff0000\">        ก.  บันได  ๗  ขั้น  </span>หรือ  ๙  ขั้น   หมายถึงการนับญาติที่เรียกว่าเจ็ดเจ้นขะกู๋ล   หรือเจ็ดชั่วโคตรนั้น  <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">        ข.  ไม่ขัว  (สะพาน)  </span>ทำเป็นไม้  ๒  อันติดกัน  ท่านหมายถึง การมีน้ำใจ  ต่อญาติมิตร บริวาร  เพื่อนใกล้เคียง  คือยินดีต่อแขกผู้ไปมาหาสู่  ได้ทุกโอกาส  เหมือนทำสะพานให้คนเดิมมาสู่บ้าน  <br />\n<span style=\"color: #ff0000\">ค.  หม้อน้ำ  กระบวย  เสื่อ  หมอน  พลู  บุหรี่   เมี่ยง </span>   ของเหล่านี้เป็นของรับแขก  มีความหมายว่า  ถ้าเรามีสิ่งนี้ไว้  ใครไปใครมา   มีไว้ต้อนรับไม่ขาดแคลน  </span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"background-color: #00ffff\">๔.  ประเภทใช้เป็นอาหารคน  แบ่งเป็น  ๒  อย่างคือ  ที่เป็นต้นกล้า </span></b> <br />\n<span style=\"color: #000000\">        สำหรับทำพันธุ์อย่างเช่น  หน่อกล้วย  หน่ออ้อย  งอกมะพร้าว  ต้นหมาก ฯ  ถือว่าถ้าหมั่นปลูกฝัง  ไม่เกียจคร้าน  ก็จะมีกินมีใช้อุดมสมบูรณ์  ไม่ขัดสน  อับจน  ถ้าไม่แสวงหาพืชพันธุ์ต้นกล้าหามาปลูก  ชาตาชีวิตอับเฉา  ชะตาชีวิตขาดทำให้ยากจน  อันแฝงด้วยธรรมะให้มีความหมั่นความขยัน  ไม่นิ่งดูดาย  และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  สร้างระบบนิเวศวิทยาที่ดี  ถ้าไม่มีอาหารหล่อเลี้ยงร่างกายชีวิตก็จะขาดความสุข  ถ้ามีอาหารการกินบริบูรณ์ชีวิตก็จะมีความสุข  ถ้าต้องการให้ชาตาชีวิตดี  </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff6600\">::ดูหน้าต่อไป&gt;&gt; </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span></p>\n', created = 1715449944, expire = 1715536344, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:35f273efffd9da0a3f6d388bd082a81d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีท้องถิ่นล้านนา

รูปภาพของ surapong2520

       ความเชื่อแต่โบราณว่า  การเกิดเมืองหรือการสร้างเมืองนั้น  สร้างตามฤกษ์ยามที่เป็นมหามงคลตบะ  เตชะ  เหมือนกับการเกิดของประชาชนที่มีความสุข ความเจริญ ความสุข ความสมหวัง และบางครั้งก็เสื่อมโทรมอับเฉาเศร้าหมอง นานัปการเมื่อประสบปัญหาเหล่านี้ ชาวล้านนาไทยมีความเชื่อว่า หากได้ทำบุญสืบชะตาจะช่วยให้ทุกสิ่งทุกอย่างดีขึ้น เหมือนเดิมหรือดีกว่าเดิม จึงปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน การสืบชะตา ได้แก่ การสืบชะตาการเกิด  สืบอายุ  สืบชีวิต  ให้ยืนยาว ออกไปนานเท่านาน  ผู้ใดปรารถนาจะมีอายุยืนควรประกอบพิธีสืบชะตาเป็นประจำทุกปี

วัตถุประสงค์การสืบชะตา
        1. เพื่อต่ออายุให้ยืนยาว                                            
2. เพื่อขจัดบัดเป่าสิ่งชั่วร้ายทั้งหลาย                                                                         
3. เพื่อบำรุงขวัญ                                                                                             
4. เพื่อให้เกิดความสามัคคี                                                                                               
5. เพื่อสร้างความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพชน                                                                
6. เพื่อรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของบ้านเมือง

 ประเภทของการสืบชะตา  การสืบชะตา แบ่งออกเป็น ประเภท คือ
1.  สืบชะตาคนและสัตว์
2.  สืบชะตาบ้าน
3.  สืบชะตาเมือง
  
   

สืบชะตาคนหรือสัตว์  ทำกันมาก ด้วยความหวังและความตั้งใจต่างกัน เช่น
- เมื่อเจ็บป่วย      
-  เมื่อรู้สึกไม่สบายใจ
- เมื่อจะเดินทางไปสู่ที่อื่น
-  เมื่อเข้าสู่ที่อยู่ใหม่
-  เมื่อแต่งงาน                
-  เมื่อขึ้นบ้านใหม่                         
-  เมื่ออายุครบรอบ
-  เมื่อได้ตำแหน่งหรือเลื่อนยศ
                                             

พิธีกรรม
การสืบชะตามีพิธีกรรมที่สำคัญ คือ เครื่องพิธีสืบชะตา ประกอบด้วย
- ไม้ค้ำ  มีความหมายว่า จะค้ำจุนชีวิตให้มั่นคง
- ขัวไต่ หมายถึง สะพานชีวิตที่จะมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น
- ขั้นไดเงิน  ขั้นไดคำ ขั้นไดนาก หมายถึง  บันไดเงินทอง และนาก ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีงามที่จะก้าวขึ้นไปสู่ความเจริญ  มะพร้าวงอก หน่อกล้วย หน่ออ้อย เป็นเครื่องหมายแห่งความเจริญงอกงาม  และ  ก่อประโยชน์มากมาย

ขันตอนพิธีกรรมอื่น ๆ
     1. นิมนต์พระสงฆ์  9  รูป
2. ทำพิธีขึ้นท้าวทั้ง  4  หรือบูชาท้าวโลกบาล
3. ตั้งเครื่องชะตาไว้ในห้องพิธี
4. ผู้สืบชะตาเข้านั่งในซุ้มสืบชะตา
5. ปู่อาจารย์  หรือพิธีกร อาราธนาศีลและพระปริตร
6. พระสงฆ์ให้ศีลและเจริญพระพุทธมนต์ มีสวดสืบชะตา
7. มีเทศน์ธรรมคัมภีร์ สารากริวิชานะสูตร  1 ผูก
8. พระสงฆ์ทำการประพรมน้ำพระพุทธมนต์ และผูกข้อมือแก่ผู้เข้าพิธีหรือผู้ร่วมพิธี
9. ถวายภัตตาหารและถวายไทยทาน

พิธีสืบชะตาปริศนาธรรมของคนล้านนา
         
ในวิถีชีวิตของคนล้านนาไทย  ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้  มีพิธีกรรมในพระ พุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต   ตั้งแต่เกิดจนตาย  คนล้านนาในสมัยโบราณมีความเชื่อมั่นศรัทธา  ในพระพุทธศาสนาจนฝังรากลึก  มองเห็นสิ่งต่างๆ  ในร่มเงาของวัดวาอารามเป็นของศักดิ์สิทธิ์  เวลาเดินเข้าวัดจะไม่ยอมสวมรองเท้าเพราะถือว่าเป็นการอยู่ที่สูง  ขาดความเคารพ  แต่โดยแท้จริงคนโบราณต้องการให้เท้าได้สัมผัสกับดินทราย  ในวัดหรือที่เรียกว่า  “  ข่วงแก้วตังสาม”   เพื่อให้ได้กลิ่นไอแห่งสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ซึมซับเข้าไปในร่างกายจิตใจนั่นเอง   เวลาเดินไปจะไม่ยอมเหยียบเงาพระธาตุเจดีย์  เงาพระสงฆ์ - สามเณรถือว่าเป็นบาป  เมื่อพบพระสงฆ์กลางทางจะนั่งยอง ๆ  ถ้าไม่ยกมือไหว้ก็จะรอให้พระผ่านไปก่อน  บางคนขี่จักรยานก็จะลงจากจักรยาน  สวมหมวก  กางร่มก็จะถอดหมวกพับร่มเสีย  จะเห็นได้ว่าวิถีชีวิตของชาวล้านนาโบราณให้ความเคารพนับถือ  พระสงฆ์สามเณร  มีความเคารพยำเกรงต่อวัดวาอาราม  เจดียสถานอย่างมาก  เพราะฉะนั้นพิธีกรรมต่างๆ   ที่สำคัญในการปรกอบพิธีและให้พระสงฆ์ – สามเณร  อาจารย์ (มัคคทายก)  ให้คำปรึกษา  เป็นผู้จัดการทำให้ความผูกพันระหว่างบ้านกับวัด  ชาวบ้านกับชาววัดจึงแน่นแฟ้นไม่เสื่อมคลาย  ขนาดพืชพันธ์ธัญญาหาร   ส้มสุกลูกไม้  อะไรออกผล  ก่อนจะกินต้องนำไปถวายให้พระฉันก่อน  เพื่อเอาบุญจะไม่กิน  ก่อนจะถวายทาน  จึงมีคำกล่าวไว้ว่า  “บ่ดีกิ๋นก่อนต๋าน  บ่ดีมารก่อนแต่ง”    คือไม่ดี
          กินก่อนให้ทาน  ไม่ดีมีลูกก่อนแต่งงาน  เพราะฉะนั้นหลังจากเก็บเกี่ยวจึงมีประเพณีทานข้าวใหม่

ในการสืบชาตานั้น  เราจะเห็นว่ามีเครื่องประกอบพิธีดังนี้
๑. ไม้ค้ำยาวเท่าตัว  ๓  เล่ม  ทำจากไม้ง่ามมีขนาดเอากำมือรอบหรือดตกว่านั้นเล็กน้อย
๒. ไม้ค้ำเล็กขนาดเท่าหัวแม่มือยาว  ๑  ศอก  จำนวนเท่าอายุ  หรือมากขึ้นแต่ไม่เกิน  ๑๐๘
๓. บัดได  ๗  ขั้น  หรือ  ๙  ขั้น
๔. ทำกระดาษทอง   เงิน  หมากพลู   บุหรี่  เมี่ยง    ข้างตอก  ดอกไม้   ร้อยด้วยไหม   เรียกว่า  ลวดเงิน   ลวดคำ  ลวดหมาก ลวดเมี่ยง  นำมามัดกับบันไดที่ทำ
๕. หม้อน้ำดื่ม   และกระบวย
๖. เสื่อหมอนใช้ของใหม่
๗. ทำไม้สะพาน  ใช้ไม้ไผ่หรือไม้เนื้อแข็ง  เอา  ๒  อัน  ทำให้ติดกัน
๘. ตุงก้าคิง  คำนี้เป็นภาษาไทยใหญ่  หมายถึงยาวเท่าตัว  ตุงห้าคิง  หมายถึงธงยาวเท่าตัว
๙. เทียนก้าคิง   สีสายก้าคิง  คือเทียนที่ทำยาวเท่าตัว  และฝ้ายยาวเท่าตัวชุบด้วยน้ำมันพืชสำหรับจุดเป็นพุทธบุชา
๑๐. กระบอกทราย  หรือข้าวสาร  ใช้ไม้อ้อยาวเท่านิ้วบรรจุทราย  หรือข้าวสาร  จำนวน  ๒๐  กระบอก
๑๑. กระบอกน้ำ  ใช้ไม้อ้อเช่นเดียวกันจำนวน  ๑๒  กระบอก
๑๒.ผางประทีป  หรือเทียน  จำนวน  ๔  อัน  ถ้ามากเท่าอายุหรือเกินได้แต่ อย่าให้เกิน   ๑๐๘
๑๓. ช่อน้อย  ตุงไชย  จำนวน  ๖  หรือเท่าอายุ  แต่อย่าเกิน  ๑๐๘
๑๔. ข้าวเปลือก  หมื่นเท่ากับ   ๑๐  ลิตร   ข้าวสารพัน  เท่ากับ  /  ๑  ลิตร
๑๕. หน่อกล้วย  หน่ออ้อย  งอกมะพร้าว
๑๖.  กล้วยแก่  ๑     เครือ  มะพร้าว  ๑  คะแนง  (ทะลาย)
๑๗. สะตวง  หรือกระทงกาบกล้วยใส่สรรพโภชนาหาร
๑๘. ทำบายศรี  นมแมวจีบใบตองประดับดอกไม้ต่าง ๆ  และใส่ข้าว ขนม  ผลไม้
๑๙.  ฝ้ายมงคล  (ด้ายสายสิญจน์)

      ทั้งหมดนี้  ครูบาอาจารย์กำหนดให้นำมารวมกันตั้งไว้  โดยมีไม้ค้ำใหญ่  ๓  อัน  เป็นหลักให้ปลายไม้แต่ละเล่มค้ำสุมรวมกัน  แล้วนำของต่าง ๆ  วางไว้ที่โคนไม้ค้ำบ้าง  มักรวมกับไม้ค้ำบ้าง  ไว้ข้างบนสุดยอดไม้ค้ำบ้าง  แต่ละอย่างมีความหมายที่เป็นบุคลาธิษฐานคือธรรมะที่จะปฏิบัติให้เกิดความสุข  ซึ่งถ้าไม่พิจารณาโดยละเอียด  จะไม่พบธรรมะในเครื่องสืบชาตาเหล่านี้เลย
ถ้าหากจะแบ่งของในพิธีกรรมสืบชาตานี้จะเห็นมีอยู่  ๔  ประเภท  คือ
๑. ประเภทใช้แทนหมู่คน
๒. ประเภทใช้แทนร่างกาย
๓. ประเภทใช้สอย  เครื่องอุปโภค บริโภคของคน
๔. ประเภทใช้เป็นอาหารคน

๑.  ประเภทใช้แทนหมู่คนนั้น   ได้แก่   ไม้ค้ำใหญ่  ไม้ค้ำเล็ก
       ก.  ไม้ค้ำใหญ่  ๓  เล่มนี้  ถ้าสืบชาตาในครอบครัว   หรือสืบชาตา
ชาวบ้านหมายถึงบุคคล  ๓  คน  คือ  พ่อ  แม่  ลูก  ซึ่งเป็นหลักใหญ่ของครอบครัวถ้าคนทั้ง  ๓  นี้  ยังค้ำจุนกันอยู่คือยังรักสมัครสมานสามัคคี  เมตตา  เอื้อเฟื้อเอาใจใส่  ไม่นอกใจกันไม่ทอดทิ้งกัน  ลูกยังเชื่อฟังพ่อแม่  พ่อแม่ยังเอาใจใส่ลูกเลี้ยงดูอบรมลูก ๆ  บ้านนั้น  ครอบครัวนั้นชาตาดี  คนนั้นชาตาไม่ขาด ถ้าสืบชาตาวัดวาอาราม  ไม้ค้ำ  ๓  เล่มนี้  หมายถึง  พระสงฆ์  สามเณร ศรัทธาญาติโยม  ทั้ง  ๓  พวกนี้เป็นหลักของวัด  
       ข.  ไม้ค้ำเล็กขนาดเท่าหัวแม่มือยาว  ๑  ศอก   จำนวนเท่าอายุ  หรือ  ๑๐๘  อัน  นั้นหมายถึงบุคคลผู้อยู่ร่วมบ้าน  ร่วมวัด  เช่น  ญาติ  บริวาร  เขย  สะใภ้  หรือเป็นลูกศิษย์อารามิกชน  คนอยู่ในวัด  ถ้ายังอยู่ปกติดี  ค้ำจุนอุดหนุน  อุปถัมภ์  บำรุงกันดี  เหมือนไม้ค้ำเล็กมัดรวมกันกับไม้ค้ำใหญ่สนับสนุนช่วยเหลือ  ชะตาบ้านก็ไม่ขาด  ชะตาวัดก็ไม่ขาด  ถ้าไม่หวังดี  ปรารถนาดีคอยขัดแย้งทำลาย  ชะตาบ้านนั้นขาด  วัดก็เช่นเดียวกัน  ไม้ค้ำนี้จึงเป็นธรรมะในข้อ  เมตตาธรรม  สามัคคีธรรม  ที่ปรากฏให้เห็นโดยปริศนา  แทนหมู่คน  ถ้ามีเมตตา  สามัคคี  ในหมู่คนทุกจำพวก  ชะตาก็จะดี  ชะตาก็ไม่ขาด

๒.  ประเภทใช้แทนร่างกายคน  ได้แก่  กระบอกทราย  หรือข้าวสาร  จำนวน  ๒๐  กระบอก  กระบอกน้ำ  ใช้ไม้อ้อเช่นเดียวกันจำนวน  ๑๒  กระบอก  ผางประทีป  หรือเทียน  จำนวน  ๔  อันถ้าหากมากเท่าอายุหรือเกินได้แต่อย่าให้เกิน  ๑๐๘  ตุงก้าคิง  ๑  ตัว  สีสายก้าคิง  ๑  เส้น  สิ่งเหล่านี้ใช้แทนร่างกายคน สำหรับร่างกายคนเรานั้น  ท่านกล่าวไว้ว่าประกอบด้วยธาตุ  ๔  ประชุมกัน  คือธาตุดิน  ธาตุน้ำ  ธาตุลม  ธาตุไฟ  รวมเป็นร่างกาย  แบ่งออกเป็น  ๒  ส่วน  คือรูปกับนาม  ซึ่งท่านกำหนดสิ่งของธาตุทั้ง  ๔  และรูปนามดังนี้
๓. ประเภทใช้สอย  เครื่องอุปโภค  บริโภคของคน  ซึ่งมีหลายอย่าง
        ก.  บันได  ๗  ขั้น  หรือ  ๙  ขั้น   หมายถึงการนับญาติที่เรียกว่าเจ็ดเจ้นขะกู๋ล   หรือเจ็ดชั่วโคตรนั้น  
        ข.  ไม่ขัว  (สะพาน)  ทำเป็นไม้  ๒  อันติดกัน  ท่านหมายถึง การมีน้ำใจ  ต่อญาติมิตร บริวาร  เพื่อนใกล้เคียง  คือยินดีต่อแขกผู้ไปมาหาสู่  ได้ทุกโอกาส  เหมือนทำสะพานให้คนเดิมมาสู่บ้าน  
ค.  หม้อน้ำ  กระบวย  เสื่อ  หมอน  พลู  บุหรี่   เมี่ยง    ของเหล่านี้เป็นของรับแขก  มีความหมายว่า  ถ้าเรามีสิ่งนี้ไว้  ใครไปใครมา   มีไว้ต้อนรับไม่ขาดแคลน  

๔.  ประเภทใช้เป็นอาหารคน  แบ่งเป็น  ๒  อย่างคือ  ที่เป็นต้นกล้า 
        สำหรับทำพันธุ์อย่างเช่น  หน่อกล้วย  หน่ออ้อย  งอกมะพร้าว  ต้นหมาก ฯ  ถือว่าถ้าหมั่นปลูกฝัง  ไม่เกียจคร้าน  ก็จะมีกินมีใช้อุดมสมบูรณ์  ไม่ขัดสน  อับจน  ถ้าไม่แสวงหาพืชพันธุ์ต้นกล้าหามาปลูก  ชาตาชีวิตอับเฉา  ชะตาชีวิตขาดทำให้ยากจน  อันแฝงด้วยธรรมะให้มีความหมั่นความขยัน  ไม่นิ่งดูดาย  และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม  สร้างระบบนิเวศวิทยาที่ดี  ถ้าไม่มีอาหารหล่อเลี้ยงร่างกายชีวิตก็จะขาดความสุข  ถ้ามีอาหารการกินบริบูรณ์ชีวิตก็จะมีความสุข  ถ้าต้องการให้ชาตาชีวิตดี 

::ดูหน้าต่อไป>>

สร้างโดย: 
นายสุรพงษ์ จ๋าก๋าง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 237 คน กำลังออนไลน์