• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4beacb311cd07eb7393fed85cb4118e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เทียนอันเหมินเฉิงโหลว หรือ หอประตูเมืองเทียนอันเหมิน ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของจัตุรัส ประตูเทียนอันเหมินเป็นที่มาของชื่อจัตุรัสเทียนอันเหมิน ที่ถือว่าเป็น ‘ดวงตา’ ของเมืองปักกิ่ง และเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ดังนั้นท่านจึงเห็นภาพวาดของท่านประธานเหมาที่ประดับอยู่ ณ ประตูแห่งนี้เสมอในเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับประเทศจีน ถึงแม้หอประตูเทียนอันเหมินจะผ่านประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงมานับครั้งไม่ถ้วน แต่ยังคงเต็มไปด้วยพลังแห่งชีวิตชีวา และคงความโอ่อ่าสง่างามมาจนถึงวันนี้\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><br />\n  </span></p>\n<p>หอประตูเทียนอันเหมินในอดีต   หอประตูแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อปีที่ 15 ในรัชสมัยหย่งเล่อ (ค.ศ.1417) แห่งราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) เป็นประตูใหญ่ของเขตพระราชวังแห่งราชสำนักหมิง เบื้องหลังหอประตูนี้คือพระราชวังต้องห้าม (กู้กง) ในสมัยนั้นเรียก ‘ประตูเฉิงเทียนเหมิน’  อันมีความหมายถึง ลำเลียงมาจากฟ้า เมื่อเริ่มแรกหอแห่งนี้ก่อสร้างเป็นประตูโค้งทำด้วยไม้ 5 ประตู ซึ่งแตกต่างกับรูปแบบที่เห็นในปัจจุบัน ต่อมาจึงเปลี่ยนมาเป็นแบบหอโค้งกว้างราว 90 ฟุต<br />\n       <br />\n       ในสมัยราชวงศ์ชิงปีศักราชที่ 8 แห่งรัชกาลซุ่นจื้อ (ค.ศ.1651) จึงมีการบูรณะหอประตูนี้ใหม่ทั้งหมด และเปลี่ยนมาเรียก ‘ประตูเทียนอันเหมิน’<br />\n       <br />\n       หลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลก็ได้มีการปรับปรุงสถาปัตยกรรมไม้บนหอประตูเทียนอันเหมินใหม่ และเพิ่มกำแพงเมืองหนาล้อมรอบ จึงกลายมาเป็นรูปแบบเช่นที่เห็นในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><br />\n   </span></p>\n<p> <br />\n <br />\n       </p>\n', created = 1715521857, expire = 1715608257, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4beacb311cd07eb7393fed85cb4118e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Tian an men

เทียนอันเหมินเฉิงโหลว หรือ หอประตูเมืองเทียนอันเหมิน ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของจัตุรัส ประตูเทียนอันเหมินเป็นที่มาของชื่อจัตุรัสเทียนอันเหมิน ที่ถือว่าเป็น ‘ดวงตา’ ของเมืองปักกิ่ง และเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ดังนั้นท่านจึงเห็นภาพวาดของท่านประธานเหมาที่ประดับอยู่ ณ ประตูแห่งนี้เสมอในเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับประเทศจีน ถึงแม้หอประตูเทียนอันเหมินจะผ่านประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงมานับครั้งไม่ถ้วน แต่ยังคงเต็มไปด้วยพลังแห่งชีวิตชีวา และคงความโอ่อ่าสง่างามมาจนถึงวันนี้


 

หอประตูเทียนอันเหมินในอดีต   หอประตูแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อปีที่ 15 ในรัชสมัยหย่งเล่อ (ค.ศ.1417) แห่งราชวงศ์หมิง (ค.ศ.1368-1644) เป็นประตูใหญ่ของเขตพระราชวังแห่งราชสำนักหมิง เบื้องหลังหอประตูนี้คือพระราชวังต้องห้าม (กู้กง) ในสมัยนั้นเรียก ‘ประตูเฉิงเทียนเหมิน’  อันมีความหมายถึง ลำเลียงมาจากฟ้า เมื่อเริ่มแรกหอแห่งนี้ก่อสร้างเป็นประตูโค้งทำด้วยไม้ 5 ประตู ซึ่งแตกต่างกับรูปแบบที่เห็นในปัจจุบัน ต่อมาจึงเปลี่ยนมาเป็นแบบหอโค้งกว้างราว 90 ฟุต
      
       ในสมัยราชวงศ์ชิงปีศักราชที่ 8 แห่งรัชกาลซุ่นจื้อ (ค.ศ.1651) จึงมีการบูรณะหอประตูนี้ใหม่ทั้งหมด และเปลี่ยนมาเรียก ‘ประตูเทียนอันเหมิน’
      
       หลังการก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลก็ได้มีการปรับปรุงสถาปัตยกรรมไม้บนหอประตูเทียนอันเหมินใหม่ และเพิ่มกำแพงเมืองหนาล้อมรอบ จึงกลายมาเป็นรูปแบบเช่นที่เห็นในปัจจุบัน


   

 
 
      

สร้างโดย: 
นางสุปราณี พอกพูน

โอ้โฮ! เรื่องน่าสนใจ ทำให้อยากไปเที่ยว

เทียน อัน เหมิน น่าสนใจมากค่ะ อ่านแล้วอยากไปเี่ที่ยวจังเลย  แต่ไม่มีไก๊ด์พาไป และ...เงินน่ะมีมั้ย ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆFrownSurprisedTongue outMoney mouth

ถ้ามีเงินจะพาไปนะ แถบที่มีแผ่นดินไหว น้ำท่วมไม่ไปนะLaughing

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 253 คน กำลังออนไลน์