• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d886c24f4c4267c1468a07e98f2b8e55' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #a52a2a\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียง </span></b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">                 เสียงเกิดจากตัวก่อกำเนิดเสียงให้วัตถุสั่น พลังงานจากการสั่นจะถ่ายโอนต่อ ๆ กัน ผ่านอนุภาคของอากาศจนถึงผู้ฟัง ทำให้ได้ยินเสียง เสียงจะดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับพลังงานที่ส่งมา </span></p>\n<p>\n<b>                  กำลังเสียง</b> คือ อัตราการถ่ายโอนพลังงานเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง ซึ่งเป็นปริมาณพลังงานเสียงที่ส่งออกจากแหล่งกำเนิดเสียงต่อ 1 หน่วยเวลา สัญลักษณ์ P หน่วยเป็น จูล/วินาที (J/s) หรือ วัตต์ (W)\n</p>\n<p>\nปกติจะบอกลักษณะของเสียงเป็น ความเข้มเสียง และระดับความเข้มเสียง ดังนี้\n</p>\n<p>\n<b>                  1 ความเข้มเสียง</b>\n</p>\n<p>\n<b>                     ความเข้มเสียง (Sound intensity)</b> คือ กำลังเสียงที่แหล่งกำเนิดเสียงส่งออกไปต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ของหน้าคลื่นทรงกลม สัญลักษณ์ I หน่วย วัตต์/ตารางเมตร (W/m<sup>2</sup>) ดังรูป\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u2506/p10.gif\" border=\"0\" width=\"350\" height=\"250\" />\n</p>\n<p>\nรูปความเข้มเสียงจากหน้าคลื่นทรงกลม\n</p>\n<p>\nจากรูป ถ้า I เป็นความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งบนหน้าคลื่นทรงกลม P เป็น กำลังเสียงหน่วยวัตต์/ตารางเมตร และ R เป็นระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดเสียง O กับตำแหน่งที่จะหาความเข้มเสียง หน่วยเป็น เมตร จะได้\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u2506/e07.gif\" border=\"0\" width=\"240\" height=\"95\" />\n</p>\n<p>\nดังนั้นความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ที่อยู่ห่างออกไป จะมีค่าลดลงเรื่อย ๆ ซึ่งเสียงที่มีความเข้มเสียงน้อยที่สุดที่หูมนุษย์ปกติสามารถได้ยินมีค่าเท่ากับ 10<sup>-12</sup> วัตต์/ตารางเมตร และเสียงที่มี ความเข้มเสียงมากที่สุดที่หูมนุษย์ปกติสามารถทนฟังได้มีค่าเท่ากับ 1 วัตต์/ตารางเมตร\n</p>\n<p>\nสรุปได้ว่า ความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งใด เป็นปริมาณพลังงานเสียงที่ตกกระทบพื้นที่ 1 ตารางหน่วยใน 1 วินาที ณ ตำแหน่งนั้น โดยพื้นที่ดังกล่าวมีระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b>                 2. ระดับความเข้มเสียง</b> </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">   ในทางปฏิบัติการคิดปริมาณพลังงานเสียงในรูปความเข้มเสียงจะไม่สะดวก เนื่องจากช่วงที่หูมนุษย์ได้ยินเสียงเบาที่สุดจนดังที่สุดกว้าง จึงนิยมคิดเป็นระดับความเข้มเสียง </span></span></p>\n<p>\n<b>                 ระดับความเข้มเสียง (Sound intensity level)</b> คือ ปริมาณพลังงานเสียงที่บอกในรูปความดังเสียง สัญลักษณ์ L หรือ β หน่วย เดซิเบล (decibel = dB) โดยกำหนดระดับความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน จนดังที่สุดที่หูทนฟังได้ตั้งแต่ 0 – 12 เบล (B) เมื่อ 1 เบล = 10 เดซิเบล\n</p>\n<p>\nดังนั้น 0 เบล = I<sub>0</sub> = ระดับความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน\n</p>\n<p>\nและ 1 เบล = 10 I<sub>0</sub> , 2 เบล = 10<sup>2</sup> I<sub>0</sub> , …\n</p>\n<p>\nหาความสัมพันธ์ของความเข้มเสียงที่ต้องการวัด (I) ความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน (I<sub>0</sub>) และระดับความเข้มเสียง (β) หน่วยเดซิเบล ด้วยสมการดังนี้\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u2506/e08.gif\" border=\"0\" width=\"130\" height=\"75\" />\n</p>\n<p>\nกรณีแหล่งกำเนิดเสียงที่มีกำลังเสียง (P) เท่าเดิม เมื่อระยะห่าง (R) ต่างกัน ผลต่างระดับ ความเข้มเสียง (Δβ) จะเป็นดังนี้\n</p>\n<p>\nβ1 – β2 =<img src=\"/files/u2506/e09.gif\" border=\"0\" width=\"120\" height=\"45\" />\n</p>\n<p>\nΔβ = <img src=\"/files/u2506/e10.gif\" border=\"0\" width=\"55\" height=\"45\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/16869/\"></a><a href=\"/node/16768\"><img src=\"/files/u2506/home.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /></a><a href=\"/node/16768?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u2506/manu.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /> </a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715895413, expire = 1715981813, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d886c24f4c4267c1468a07e98f2b8e55' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เนื้อหาสอบ O-NET

ความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียง

                 เสียงเกิดจากตัวก่อกำเนิดเสียงให้วัตถุสั่น พลังงานจากการสั่นจะถ่ายโอนต่อ ๆ กัน ผ่านอนุภาคของอากาศจนถึงผู้ฟัง ทำให้ได้ยินเสียง เสียงจะดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับพลังงานที่ส่งมา

                  กำลังเสียง คือ อัตราการถ่ายโอนพลังงานเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง ซึ่งเป็นปริมาณพลังงานเสียงที่ส่งออกจากแหล่งกำเนิดเสียงต่อ 1 หน่วยเวลา สัญลักษณ์ P หน่วยเป็น จูล/วินาที (J/s) หรือ วัตต์ (W)

ปกติจะบอกลักษณะของเสียงเป็น ความเข้มเสียง และระดับความเข้มเสียง ดังนี้

                  1 ความเข้มเสียง

                     ความเข้มเสียง (Sound intensity) คือ กำลังเสียงที่แหล่งกำเนิดเสียงส่งออกไปต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ของหน้าคลื่นทรงกลม สัญลักษณ์ I หน่วย วัตต์/ตารางเมตร (W/m2) ดังรูป

รูปความเข้มเสียงจากหน้าคลื่นทรงกลม

จากรูป ถ้า I เป็นความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งบนหน้าคลื่นทรงกลม P เป็น กำลังเสียงหน่วยวัตต์/ตารางเมตร และ R เป็นระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดเสียง O กับตำแหน่งที่จะหาความเข้มเสียง หน่วยเป็น เมตร จะได้

ดังนั้นความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ที่อยู่ห่างออกไป จะมีค่าลดลงเรื่อย ๆ ซึ่งเสียงที่มีความเข้มเสียงน้อยที่สุดที่หูมนุษย์ปกติสามารถได้ยินมีค่าเท่ากับ 10-12 วัตต์/ตารางเมตร และเสียงที่มี ความเข้มเสียงมากที่สุดที่หูมนุษย์ปกติสามารถทนฟังได้มีค่าเท่ากับ 1 วัตต์/ตารางเมตร

สรุปได้ว่า ความเข้มเสียง ณ ตำแหน่งใด เป็นปริมาณพลังงานเสียงที่ตกกระทบพื้นที่ 1 ตารางหน่วยใน 1 วินาที ณ ตำแหน่งนั้น โดยพื้นที่ดังกล่าวมีระนาบตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียง

                 2. ระดับความเข้มเสียง    ในทางปฏิบัติการคิดปริมาณพลังงานเสียงในรูปความเข้มเสียงจะไม่สะดวก เนื่องจากช่วงที่หูมนุษย์ได้ยินเสียงเบาที่สุดจนดังที่สุดกว้าง จึงนิยมคิดเป็นระดับความเข้มเสียง

                 ระดับความเข้มเสียง (Sound intensity level) คือ ปริมาณพลังงานเสียงที่บอกในรูปความดังเสียง สัญลักษณ์ L หรือ β หน่วย เดซิเบล (decibel = dB) โดยกำหนดระดับความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน จนดังที่สุดที่หูทนฟังได้ตั้งแต่ 0 – 12 เบล (B) เมื่อ 1 เบล = 10 เดซิเบล

ดังนั้น 0 เบล = I0 = ระดับความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน

และ 1 เบล = 10 I0 , 2 เบล = 102 I0 , …

หาความสัมพันธ์ของความเข้มเสียงที่ต้องการวัด (I) ความเข้มเสียงที่เบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน (I0) และระดับความเข้มเสียง (β) หน่วยเดซิเบล ด้วยสมการดังนี้

กรณีแหล่งกำเนิดเสียงที่มีกำลังเสียง (P) เท่าเดิม เมื่อระยะห่าง (R) ต่างกัน ผลต่างระดับ ความเข้มเสียง (Δβ) จะเป็นดังนี้

β1 – β2 =

Δβ =

สร้างโดย: 
ครูอาทร สอนสุภาพ

เยี่ยม!!มากเลยคะ

ได้ความรู้มากๆเลยครับ

รูปภาพของ pks3128

อยากได้เนื้อหาเยอะๆ

สวัสดีครับ   อาจารย์เก่งจังนะครับ

อาจารย์เก่งจังเลยค่ะ

ขอบคุณมากนะค่ะ ได้ความรู้มากๆเลยค่ะ

ช้าจัง เรียบเรียงเร็วๆๆๆ อยากจะดู

เพิ่มเนื้อหาให้แล้วนะครับ รออีกนิดนะครับกำลังจัดทำเพิ่ม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 204 คน กำลังออนไลน์