• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ce3844727e7cde3f572b9ce6038f4b7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #a52a2a\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สมบัติของเสียง</span></b> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #a52a2a\">เสียงมีสมบัติของคลื่นครบทั้ง 4 ประการ คือ สะท้อน หักเห แทรกสอด และเลี้ยวเบน ดังนี้</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></p>\n<p>\n<b>              1. เสียงสะท้อน</b>\n</p>\n<p>\nการสะท้อนของเสียง คือ เสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงตกกระทบวัตถุแล้วสะท้อนกลับมาที่เดิม ซึ่งปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงจากการตะโกนครั้งแรกจะส่งผ่านไปยังสมองและติดประสาทหูเป็นเวลาประมาณ 0.1 วินาที หูจึงจะสามารถแยกเสียงที่ตะโกนกับเสียงสะท้อนกลับมาได้\n</p>\n<p>\n<b>                    เสียงสะท้อนกลับ (echo)</b> คือ เสียงที่สะท้อนกลับมาสู่หูช้ากว่าเสียงที่ตะโกนออกไปเกิน 0.1 วินาที หูจึงจะสามารถแยกเสียงที่ตะโกนกับเสียงสะท้อนกลับมาได้ การสะท้อนของคลื่นจะเกิดขึ้นได้ดี เมื่อวัตถุหรือสิ่งกีดขวางมีขนาดโตกว่าความยาวคลื่นที่ตกกระทบ\n</p>\n<p>\n<b>                    โซนาร์ (sonar)</b> เป็นเครื่องมือที่นักวิทยาศาสตร์นำความรู้เกี่ยวกับการสะท้อนของเสียงมาสร้างเพื่อใช้หาตำแหน่งของสิ่งที่อยู่ใต้ทะเล โดยส่งคลื่นดลของเสียงที่มีความถี่สูงจากใต้ท้องเรือไปกระทบสิ่งกีดขวางใต้ทะเลที่มีขนาดใหญ่กว่าหรือเท่ากับความยาวคลื่น ก็จะเกิดการสะท้อนของเสียงกลับมายังเครื่องรับบนเรือนำช่วงเวลาที่คลื่นส่งเสียงออกไป และรับคลื่นสะท้อนกลับมา ใช้คำนวณหาระยะทางระหว่างตำแหน่งของเรือกับสิ่งกีดขวางได้\n</p>\n<p>\n<b>             2. การหักเหของเสียง</b>\n</p>\n<p>\nเสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งผ่านไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดการหักเหเช่นเดียวกับ คลื่นผิวน้ำ เช่น การเห็นฟ้าแลบโดยไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เนื่องจากคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านอากาศร้อนได้ เร็วกว่าอากาศเย็นอัตราเร็วของเสียงจึงน้อยกว่าบริเวณใกล้ผิวโลก\n</p>\n<p>\n<b>             3. การแทรกสอดของเสียง</b>\n</p>\n<p>\nเสียงมีคุณสมบัติสามารถแทรกสอดกันได้ เมื่อฟังเสียงบริเวณที่มีการแทรกสอดกัน จะได้ยินเสียงดังค่อยต่างกัน\n</p>\n<p>\n<b>               4. การเลี้ยวเบนของเสียง</b>\n</p>\n<p>\nเสียงสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางไปยังด้านหลังของสิ่งกีดขวางได้เช่นเดียวกับ คลื่นผิวน้ำ ซึ่งจะพบเห็นในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ\n</p>\n<p><span style=\"color: #a52a2a\"><b><span style=\"font-size: 16pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การสั่นพ้องของเสียง</span></b><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></p>\n<p>\n<b>                   ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency)</b> คือ ความถี่เนื่องจากการสั่นของวัตถุที่มีค่าคงตัวค่าหนึ่ง เช่น การแกว่งของลูกตุ้มขึ้นกับค่าความยาวของเชือกผูกลูกตุ้ม เชือกขึงตึงจะสั่นด้วยความถี่คงตัวค่าหนึ่ง กระจกที่ติดตามบ้านก็จะสั่นด้วยความถี่ค่าหนึ่ง เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<b>                   การสั่นพ้องของเสียง (Resonance) </b>คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียงงกระทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่ง โดยความถี่ของเสียงที่ทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น\n</p>\n<p>\nเมื่อเกิดการสั่นพ้องขึ้น การสั่นของวัตถุจะมีแอมพลิจูดมากที่สุด เมื่อเทียบกับการสั่นด้วยความถี่อื่น ๆ และวัตถุจะสั่นด้วยแรงที่มากระทำเป็นความถี่ธรรมชาติ เมื่อแรงที่มากระทำให้วัตถุสั่นเปลี่ยนไปจะเกิดผลต่อการสั่นของวัตถุ ซึ่งสรุปได้ดังนี้\n</p>\n<p>\nเมื่อออกแรงผลักลูกตุ้มหลาย ๆ ครั้ง ความถี่ของแรงที่ผลักมีผลต่อการแกว่งของลูกตุ้ม ถ้าความถี่ของแรงที่ผลักเท่ากับความถี่ธรรมชาติของลูกตุ้ม จะมีผลทำให้ลูกตุ้มแกว่งได้ไกลมากขึ้นหรือมีแอมพลิจูดมากขึ้นทุกครั้งที่ออกแรงผลัก เป็นการสั่นพ้องของลูกตุ้ม ซึ่งสรุปได้ดังนี้\n</p>\n<p>\nเมื่อให้เสียงจากลำโพง เข้าไปในหลอดเรโซแนนซ์ จะมีการแทรกสอดคลื่นเสียงจากลำโพงและเสียงที่สะท้อนจากลูกสูบทำให้เกิดคลื่นนิ่ง และเกิดเสียงดังที่สุดเมื่อตำแหน่งปฏิบัพอยู่ที่ปากหลอดพอดี และเกิดเสี่ยงค่อยเมื่อตำแหน่งบัพอยู่ที่ปากหลอดพอดี ดังรูป\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u2506/p09.gif\" border=\"0\" width=\"460\" height=\"235\" />\n</p>\n<p>\nรูปแสดงคลื่นนิ่งของเสียงในหลอดเรโซแนนซ์\n</p>\n<p>\nจากรูป พบว่าระยะทางระหว่างตำแหน่งถัดกันที่ได้ยินเสียงดังสองครั้ง จะเท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสียง และหาค่าอัตราเร็วเสียงได้ดังนี้\n</p>\n<p>\nเสียงดังครั้งแรก                                  L = λ/4\n</p>\n<p>\nλ = 4L\n</p>\n<p>\nมีอัตราเร็วเสียงเป็น                            v = fλ = f(4L)\n</p>\n<p>\nจะได้                                                      v = 4Lf\n</p>\n<p>\nเสียงดังครั้งที่สองมีระยะเลื่อน          d = λ = 2d\n</p>\n<p>\nมีอัตราเร็วเสียงเป็น                             v = fλ = f(2d)\n</p>\n<p>\nจะได้                                                       v = 2df\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/16869/\"></a><a href=\"/node/16768\"><img src=\"/files/u2506/home.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /></a><a href=\"/node/16768?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u2506/manu.gif\" border=\"0\" width=\"100\" height=\"30\" /> </a>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p></p>', created = 1715873690, expire = 1715960090, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ce3844727e7cde3f572b9ce6038f4b7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เนื้อหาสอบ O-NET

สมบัติของเสียง

เสียงมีสมบัติของคลื่นครบทั้ง 4 ประการ คือ สะท้อน หักเห แทรกสอด และเลี้ยวเบน ดังนี้

              1. เสียงสะท้อน

การสะท้อนของเสียง คือ เสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงตกกระทบวัตถุแล้วสะท้อนกลับมาที่เดิม ซึ่งปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงจากการตะโกนครั้งแรกจะส่งผ่านไปยังสมองและติดประสาทหูเป็นเวลาประมาณ 0.1 วินาที หูจึงจะสามารถแยกเสียงที่ตะโกนกับเสียงสะท้อนกลับมาได้

                    เสียงสะท้อนกลับ (echo) คือ เสียงที่สะท้อนกลับมาสู่หูช้ากว่าเสียงที่ตะโกนออกไปเกิน 0.1 วินาที หูจึงจะสามารถแยกเสียงที่ตะโกนกับเสียงสะท้อนกลับมาได้ การสะท้อนของคลื่นจะเกิดขึ้นได้ดี เมื่อวัตถุหรือสิ่งกีดขวางมีขนาดโตกว่าความยาวคลื่นที่ตกกระทบ

                    โซนาร์ (sonar) เป็นเครื่องมือที่นักวิทยาศาสตร์นำความรู้เกี่ยวกับการสะท้อนของเสียงมาสร้างเพื่อใช้หาตำแหน่งของสิ่งที่อยู่ใต้ทะเล โดยส่งคลื่นดลของเสียงที่มีความถี่สูงจากใต้ท้องเรือไปกระทบสิ่งกีดขวางใต้ทะเลที่มีขนาดใหญ่กว่าหรือเท่ากับความยาวคลื่น ก็จะเกิดการสะท้อนของเสียงกลับมายังเครื่องรับบนเรือนำช่วงเวลาที่คลื่นส่งเสียงออกไป และรับคลื่นสะท้อนกลับมา ใช้คำนวณหาระยะทางระหว่างตำแหน่งของเรือกับสิ่งกีดขวางได้

             2. การหักเหของเสียง

เสียงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่งผ่านไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง จะเกิดการหักเหเช่นเดียวกับ คลื่นผิวน้ำ เช่น การเห็นฟ้าแลบโดยไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง เนื่องจากคลื่นเสียงเคลื่อนที่ผ่านอากาศร้อนได้ เร็วกว่าอากาศเย็นอัตราเร็วของเสียงจึงน้อยกว่าบริเวณใกล้ผิวโลก

             3. การแทรกสอดของเสียง

เสียงมีคุณสมบัติสามารถแทรกสอดกันได้ เมื่อฟังเสียงบริเวณที่มีการแทรกสอดกัน จะได้ยินเสียงดังค่อยต่างกัน

               4. การเลี้ยวเบนของเสียง

เสียงสามารถเคลื่อนที่อ้อมสิ่งกีดขวางไปยังด้านหลังของสิ่งกีดขวางได้เช่นเดียวกับ คลื่นผิวน้ำ ซึ่งจะพบเห็นในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ

การสั่นพ้องของเสียง

                   ความถี่ธรรมชาติ (Natural frequency) คือ ความถี่เนื่องจากการสั่นของวัตถุที่มีค่าคงตัวค่าหนึ่ง เช่น การแกว่งของลูกตุ้มขึ้นกับค่าความยาวของเชือกผูกลูกตุ้ม เชือกขึงตึงจะสั่นด้วยความถี่คงตัวค่าหนึ่ง กระจกที่ติดตามบ้านก็จะสั่นด้วยความถี่ค่าหนึ่ง เป็นต้น

                   การสั่นพ้องของเสียง (Resonance) คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียงงกระทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่ง โดยความถี่ของเสียงที่ทำให้วัตถุสั่นหรือแกว่งเท่ากับความถี่ธรรมชาติของวัตถุนั้น

เมื่อเกิดการสั่นพ้องขึ้น การสั่นของวัตถุจะมีแอมพลิจูดมากที่สุด เมื่อเทียบกับการสั่นด้วยความถี่อื่น ๆ และวัตถุจะสั่นด้วยแรงที่มากระทำเป็นความถี่ธรรมชาติ เมื่อแรงที่มากระทำให้วัตถุสั่นเปลี่ยนไปจะเกิดผลต่อการสั่นของวัตถุ ซึ่งสรุปได้ดังนี้

เมื่อออกแรงผลักลูกตุ้มหลาย ๆ ครั้ง ความถี่ของแรงที่ผลักมีผลต่อการแกว่งของลูกตุ้ม ถ้าความถี่ของแรงที่ผลักเท่ากับความถี่ธรรมชาติของลูกตุ้ม จะมีผลทำให้ลูกตุ้มแกว่งได้ไกลมากขึ้นหรือมีแอมพลิจูดมากขึ้นทุกครั้งที่ออกแรงผลัก เป็นการสั่นพ้องของลูกตุ้ม ซึ่งสรุปได้ดังนี้

เมื่อให้เสียงจากลำโพง เข้าไปในหลอดเรโซแนนซ์ จะมีการแทรกสอดคลื่นเสียงจากลำโพงและเสียงที่สะท้อนจากลูกสูบทำให้เกิดคลื่นนิ่ง และเกิดเสียงดังที่สุดเมื่อตำแหน่งปฏิบัพอยู่ที่ปากหลอดพอดี และเกิดเสี่ยงค่อยเมื่อตำแหน่งบัพอยู่ที่ปากหลอดพอดี ดังรูป

รูปแสดงคลื่นนิ่งของเสียงในหลอดเรโซแนนซ์

จากรูป พบว่าระยะทางระหว่างตำแหน่งถัดกันที่ได้ยินเสียงดังสองครั้ง จะเท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวคลื่นเสียง และหาค่าอัตราเร็วเสียงได้ดังนี้

เสียงดังครั้งแรก                                  L = λ/4

λ = 4L

มีอัตราเร็วเสียงเป็น                            v = fλ = f(4L)

จะได้                                                      v = 4Lf

เสียงดังครั้งที่สองมีระยะเลื่อน          d = λ = 2d

มีอัตราเร็วเสียงเป็น                             v = fλ = f(2d)

จะได้                                                       v = 2df

สร้างโดย: 
ครูอาทร สอนสุภาพ

เยี่ยม!!มากเลยคะ

ได้ความรู้มากๆเลยครับ

รูปภาพของ pks3128

อยากได้เนื้อหาเยอะๆ

สวัสดีครับ   อาจารย์เก่งจังนะครับ

อาจารย์เก่งจังเลยค่ะ

ขอบคุณมากนะค่ะ ได้ความรู้มากๆเลยค่ะ

ช้าจัง เรียบเรียงเร็วๆๆๆ อยากจะดู

เพิ่มเนื้อหาให้แล้วนะครับ รออีกนิดนะครับกำลังจัดทำเพิ่ม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 250 คน กำลังออนไลน์