• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:145089992855b141baa5003b5de4a654' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--><!--[if !mso]>\n<style>\nv\\:* {behavior:url(#default#VML);}\no\\:* {behavior:url(#default#VML);}\nw\\:* {behavior:url(#default#VML);}\n.shape {behavior:url(#default#VML);}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:WordDocument>\n<w:View>Normal</w:View>\n<w:Zoom>0</w:Zoom>\n<w:PunctuationKerning/>\n<w:ValidateAgainstSchemas/>\n<w:SaveIfXMLInvalid>false</w:SaveIfXMLInvalid>\n<w:IgnoreMixedContent>false</w:IgnoreMixedContent>\n<w:AlwaysShowPlaceholderText>false</w:AlwaysShowPlaceholderText>\n<w:Compatibility>\n<w:BreakWrappedTables/>\n<w:SnapToGridInCell/>\n<w:ApplyBreakingRules/>\n<w:WrapTextWithPunct/>\n<w:UseAsianBreakRules/>\n<w:DontGrowAutofit/>\n</w:Compatibility>\n<w:BrowserLevel>MicrosoftInternetExplorer4</w:BrowserLevel>\n</w:WordDocument>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 9]><xml>\n<w:LatentStyles DefLockedState=\"false\" LatentStyleCount=\"156\">\n</w:LatentStyles>\n</xml><![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><!--[if gte mso 10]>\n<style>\n/* Style Definitions */\ntable.MsoNormalTable\n{mso-style-name:ตารางปกติ;\nmso-tstyle-rowband-size:0;\nmso-tstyle-colband-size:0;\nmso-style-noshow:yes;\nmso-style-parent:\"\";\nmso-padding-alt:0cm 5.4pt 0cm 5.4pt;\nmso-para-margin:0cm;\nmso-para-margin-bottom:.0001pt;\nmso-pagination:widow-orphan;\nfont-size:10.0pt;\nfont-family:\"Times New Roman\";\nmso-bidi-font-family:\"Times New Roman\";\nmso-ansi-language:#0400;\nmso-fareast-language:#0400;\nmso-bidi-language:#0400;}\n</style>\n<![endif]--><p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชื่อรายงาน</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>        </span><span> </span>รายงานโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้การนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><span lang=\"TH\"><span>                               </span>โรงเรียนบ้านบน<span>  </span>สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี<br />\nเขต<span>  </span></span>3</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผู้รายงาน</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span>             </span>นายอาหมัด<span>  </span>สันขะหรี<span> <br />\n</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปีการศึกษา</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span><span>         </span>255</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">3</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"> </span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-bottom: 12pt; text-align: center\" align=\"center\">\n<b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">บทสรุปสำหรับผู้บริหาร</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                        </span>การรายงานครั้งนี้ <span> </span>มีวัตถุประสงค์ (</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">1<span lang=\"TH\">) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เพื่อพัฒนาสมรรถภาพด้านความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2<span lang=\"TH\">) เพื่อนำผลการทำวิจัยในชั้นเรียน</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไปใช้ในการพัฒนา</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของนักเรียน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">3<span lang=\"TH\">) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน (4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครู</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่ได้รับ<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\">การนิเทศโดยผู้บริหาร</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify; text-indent: 36pt\">\n<span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>        </span><span lang=\"TH\">โดยใช้</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ประชากรเป้าหมายใน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"> 1 <span lang=\"TH\">ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ </span>6<span lang=\"TH\"> โรงเรียนบ้านบน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต </span>3<span lang=\"TH\"> ปีการศึกษา 255</span>3 <span lang=\"TH\">จำนวน </span>12 <span lang=\"TH\">คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่<br />\n1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ </span>6<span lang=\"TH\"> โรงเรียนบ้านบน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี<br />\nเขต </span>3<span lang=\"TH\"> ปีการศึกษา 255</span>3<span lang=\"TH\">จำนวน </span>167<br />\n<span lang=\"TH\">คน</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                        </span>เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย<br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เครื่องมือที่ใช้กับครู มีจำนวน 3 ฉบับ<br />\nได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน<br />\n20 ข้อ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .91</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\nฉบับที่ 2 แบบประเมินความสามารถในการทำการวิจัยในชั้นเรียนของครู จำแนกเป็น แบบประเมินการเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียน<br />\nจำนวน 12 ข้อ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .9</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\">5</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> และแบบประเมินการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 35 ข้อ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น<br />\nเท่ากับ .93 </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และฉบับที่ 3 แบบสอบถาม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> จำนวน 7 ข้อ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .94</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ส่วน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เครื่องมือที่ใช้กับนักเรียน มีจำนวน 2<br />\nฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถาม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครู</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 10 ข้อ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น</span><span style=\"font-size: 15.5pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\nเท่ากับ .92</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และฉบับที่ 2 แบบสอบถาม</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครู</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง<span>           </span>ชั้นประถมศึกษาปีที่ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">6<span lang=\"TH\"> จำนวน 20 ข้อ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.2pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">.94</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">โดยสาเหตุที่ต้องสร้างเครื่องมือที่ใช้กับนักเรียน จำนวน 2<br />\nฉบับ ดังกล่าวข้างต้น<br />\nเพราะต้องการให้เครื่องมือมีความสอดคล้องกับระดับวุฒิภาวะของนักเรียนที่แตกต่างกัน<br />\nเพื่อให้ผลการศึกษาสามารถสะท้อนความคิดเห็นที่เป็นจริงได้มากที่สุด</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> และ<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\">เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ<br />\nได้แก่ แผนการนิเทศโดยผู้บริหาร และแบบสังเกตและบันทึกการสังเกตการสอน </span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล<br />\n<span> </span>คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"position: relative; top: 5pt\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/cyclone/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/01/clip_image002.gif\" height=\"17\" width=\"13\" /></span><span lang=\"TH\">) </span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และ<span>          </span>ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">(<span style=\"position: relative; top: 3pt\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/cyclone/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/01/clip_image004.gif\" height=\"15\" width=\"16\" /></span>)<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\"> <span> </span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin-top: 6pt\">\n<b><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลที่ได้จากการศึกษา</span></b><b><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                        </span>1<span lang=\"TH\">. </span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สมรรถภาพด้านความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า (1) <span> </span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนดีขึ้น<br />\nโดยในภาพรวมเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนการนิเทศโดยผู้บริหาร ครูได้คะแนนรวม </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\">99 <span lang=\"TH\">คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.2</span>5<br />\n<span lang=\"TH\">ภายหลังการนิเทศโดยผู้บริหาร ครูได้คะแนนรวม </span>195 <span lang=\"TH\">คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ</span> 16.25 <span lang=\"TH\">รวมได้คะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น<br />\n</span>96 <span lang=\"TH\">คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ</span> 8.0<span lang=\"TH\">0 (</span>2<span lang=\"TH\">) ครูที่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนมี</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ความสามารถในการเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในภาพรวมเพิ่มมากขึ้น โดยก่อนการนิเทศโดยผู้บริหารได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n1.50 <span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ในระดับปรับปรุง แต่หลังการนิเทศโดยผู้บริหารได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ</span><br />\n2.44 <span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ เปรียบเทียบการพัฒนาในทุกประเด็น ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ</span><br />\n0.94<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\"> <span lang=\"TH\">และ (3) </span></span><span style=\"letter-spacing: -0.15pt\" lang=\"TH\">ครูที่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">มีความสามารถในการเขียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">รายงานการวิจัย<span style=\"letter-spacing: -0.1pt\">ในชั้นเรียนหลังได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"letter-spacing: -0.25pt\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span>ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n2.47 <span lang=\"TH\">ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้</span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                        </span>2. <span lang=\"TH\">นำผลการทำวิจัยในชั้นเรียน</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไปใช้ในการพัฒนา</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.1pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของนักเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> พบว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เป็นผลจากการทำวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ของครูที่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนโดยรวมในปีการศึกษา<br />\n255</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">3<span lang=\"TH\"> เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">62.79</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> จากปีการศึกษา 25</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">52<span lang=\"TH\"><br />\nที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ </span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">60.11</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> โดยมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นเท่ากับ<br />\n2.68<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\"></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                        </span>3.<br />\n<span lang=\"TH\">ศึกษาความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อ</span></span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">การนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ครูสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนแก่เพื่อนครูได้ในระดับหนึ่ง<br />\nและคิดว่าการวิจัยในชั้นเรียนช่วยแก้ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นได้<br />\nส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร ครูมีความคิดเห็นว่า สามารถช่วยให้ครูดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนจนประสบความสำเร็จได้<br />\nและมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร ด้านปัญหาและอุปสรรคของการวิจัยในชั้นเรียนและการนิเทศโดยผู้บริหาร<br />\nคือ ระยะเวลาในการดำเนินการน้อยเกินไป ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการนิเทศและการทำวิจัยในชั้นเรียน<br />\nแนวทางแก้ไขปัญหา คือ ควรขยายระยะเวลาดำเนินการออกไปให้เหมาะสม</span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"text-align: justify\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                        </span>4. <span lang=\"TH\">ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครู</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ที่ได้รับ<span style=\"letter-spacing: -0.25pt\">การนิเทศโดยผู้บริหาร</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน<span style=\"letter-spacing: -0.15pt\"> พบว่า </span>นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n1-<span lang=\"TH\">3 มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"position: relative; top: 5pt\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/cyclone/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/01/clip_image002.gif\" height=\"17\" width=\"13\" /></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span>=<br />\n4.50)</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 16pt; letter-spacing: -0.15pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ส่วน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่<br />\n</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">4 <span lang=\"TH\">ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ </span>6 <span lang=\"TH\">มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่</span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหาร</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><br />\n(</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"position: relative; top: 5pt\"><img src=\"file:///C:/DOCUME%7E1/cyclone/LOCALS%7E1/Temp/msohtml1/01/clip_image002.gif\" height=\"17\" width=\"13\" /></span></span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span>=<br />\n4.52)<span style=\"letter-spacing: -0.15pt\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n', created = 1715642483, expire = 1715728883, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:145089992855b141baa5003b5de4a654' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รายงานโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้การนิเทศ

ชื่อรายงาน        รายงานโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้การนิเทศโดยผู้บริหาร

                                โรงเรียนบ้านบน  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี
เขต 
3

ผู้รายงาน              นายอาหมัด  สันขะหรี 

ปีการศึกษา           2553

 

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

                        การรายงานครั้งนี้  มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาสมรรถภาพด้านความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน (2) เพื่อนำผลการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน (3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน (4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน

        โดยใช้ประชากรเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านบน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 3 ปีการศึกษา 2553 จำนวน 12 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่
6 โรงเรียนบ้านบน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี
เขต
3 ปีการศึกษา 2553จำนวน 167
คน

                        เครื่องมือที่ใช้ ประกอบด้วย
เครื่องมือที่ใช้กับครู มีจำนวน 3 ฉบับ
ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจของครูเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน
20 ข้อ
ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .91
ฉบับที่ 2 แบบประเมินความสามารถในการทำการวิจัยในชั้นเรียนของครู จำแนกเป็น แบบประเมินการเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียน
จำนวน 12 ข้อ
ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .95 และแบบประเมินการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 35 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่น
เท่ากับ .93
และฉบับที่ 3 แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน จำนวน 7 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .94 ส่วนเครื่องมือที่ใช้กับนักเรียน มีจำนวน 2
ฉบับ ได้แก่ ฉบับที่ 1 แบบสอบถาม
ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 10 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่น
เท่ากับ .92
และฉบับที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง           ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 20 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .94 โดยสาเหตุที่ต้องสร้างเครื่องมือที่ใช้กับนักเรียน จำนวน 2
ฉบับ ดังกล่าวข้างต้น
เพราะต้องการให้เครื่องมือมีความสอดคล้องกับระดับวุฒิภาวะของนักเรียนที่แตกต่างกัน
เพื่อให้ผลการศึกษาสามารถสะท้อนความคิดเห็นที่เป็นจริงได้มากที่สุด
และเครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ
ได้แก่ แผนการนิเทศโดยผู้บริหาร และแบบสังเกตและบันทึกการสังเกตการสอน
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล
 คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
() และ          ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ()  

ผลที่ได้จากการศึกษา

                        1. สมรรถภาพด้านความรู้ความเข้าใจและความสามารถในการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า (1)  ครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนดีขึ้น
โดยในภาพรวมเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนการนิเทศโดยผู้บริหาร ครูได้คะแนนรวม
99 คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.25
ภายหลังการนิเทศโดยผู้บริหาร ครูได้คะแนนรวม 195 คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.25 รวมได้คะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
96 คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.00 (2) ครูที่
ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนมีความสามารถในการเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียนในภาพรวมเพิ่มมากขึ้น โดยก่อนการนิเทศโดยผู้บริหารได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ
1.50 ซึ่งอยู่ในระดับปรับปรุง แต่หลังการนิเทศโดยผู้บริหารได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ
2.44 ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้ เปรียบเทียบการพัฒนาในทุกประเด็น ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ
0.94 และ (3) ครูที่
ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนมีความสามารถในการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียนหลังได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ
2.47 ซึ่งอยู่ในระดับพอใช้

                        2. นำผลการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เป็นผลจากการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนโดยรวมในปีการศึกษา
255
3 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 62.79 จากปีการศึกษา 2552
ที่มีระดับคะแนนเฉลี่ยร้อยละ
60.11 โดยมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นเท่ากับ
2.68

                        3.
ศึกษาความคิดเห็นของครูที่ทำวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อ
การนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า ครูสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการวิจัยในชั้นเรียนแก่เพื่อนครูได้ในระดับหนึ่ง
และคิดว่าการวิจัยในชั้นเรียนช่วยแก้ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาปรับปรุงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นได้
ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร ครูมีความคิดเห็นว่า สามารถช่วยให้ครูดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนจนประสบความสำเร็จได้
และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศการสอนโดยผู้บริหาร ด้านปัญหาและอุปสรรคของการวิจัยในชั้นเรียนและการนิเทศโดยผู้บริหาร
คือ ระยะเวลาในการดำเนินการน้อยเกินไป ทำให้ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการนิเทศและการทำวิจัยในชั้นเรียน
แนวทางแก้ไขปัญหา คือ ควรขยายระยะเวลาดำเนินการออกไปให้เหมาะสม

                        4. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
1-3 มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่
ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
(
 =
4.50)
ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
4 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนการสอนของครูที่ได้รับการนิเทศโดยผู้บริหารตามโครงการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
(
 =
4.52)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 473 คน กำลังออนไลน์