ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ ครูเดือนฉาย หนูแสนดี การตกแต่งภาพกราฟิก ม. 2 ภาคเรียนที่ 1/54 โรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม

รูปภาพของ pnckruuciap

โปรแกรมที่ใช้คือ  Adobe Photoshop CS3  เข้าไปศึกษาข้อมูลจากเว็บไซต์ข้างล่างนี้ค่ะ

http://aster.spu.ac.th/file/user/66/66/upload/doc_train/photoshopCS3.pdf

     1ตอบ  ไมโครคอนโทรลเลอร์ถูกนำไปใช้ในระบบสมองกลฝังตัวคือ ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ถูกซ่อนอยู่ภายในเครื่องจักรกล  เครื่องใช้ไฟฟ้า   กลไกขนาดเล็กที่ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์  เพื่อเพิ่มความชาญฉลาด หรือ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องมือ ระบบสมองกลฝังตัวประกอบด้วย HARDWAREและ SOFTWARE  ที่ทำงานร่วมกัน  , intelligent  (ระบบชาญฉลาด , ระบบปัญญา หรือ automated  equipment  (ผลิตภัณฑ์อัตโนมัติ) เป็นต้น

2.ตอบ    นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งานหน่วยประมวลผลกลาง

3.ตอบ หน่วยความจำ (computer memory) คือ อุปกรณ์เก็บสถานะข้อมูลและชุดคำสั่ง เพื่อการประมวลผลของคอมพิวเตอร์หน่วยความจำแบ่งได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆ คือ หน่วยความจำถาวร และ หน่วยความจำชั่วคราว

4.ตอบ

1. ภาษา C

2. ภาษา C++
3. ภาษา C#
4. ภาษา Java
5. ภาษา VB
6.ภาษา PH
p

5.ตอบ มันจะมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเราเรียกว่าตัวแปลภาษาค่ะ ทำการแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา สร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้นั่นเองค่ะ

8.ตอบ  ลเยอร์ (Layer) เป็นหัวใจการทำงานของPhotoshop เลยทีเดียว เพราะหลักการทำงานของ Photoshop เปรียบเสมือนกับการนำภาพมาตัดปะเป็นชั้นๆ ติดลงไปใน Art board เช่น สมมติเราจะทำภาพปะติดเรื่องบ้านของฉันเราก็จะต้องตัดกระดาษมาเป็นรูปบ้าน เเล้วติดลงไป ก็ถือเป็นเลเยอร์หนึ่งนำกระดาษรูปต้นไม้มาเเปะก็เป็นอีกเลเยอร์หนึ่ง เลเยอร์ไหนอยู่ด้านบน ก็จะทับเลเยอร์ล่าง นี่เเหละครับหลักการทำงานของPhotoshop


    
  ใบงานชิ้นที่2          1แบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic)คือกราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพที่มาp://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5537 2.แบบบิตแมปหรือ ราสเตอร์กราฟิก คือกราฟิกบิตแมป มีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ที่มาhttp://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536 3.ไตเติลบาร์(Title Bar)คือ      4.เมนูบาร์(Menu Bar)คือส่วนด้านบนสุดของโปรแกรม Indesign จะเป็นแถบรวมคำสั่งหลักของโปรแกรม หรือที่เรียกว่า Menubar ซึ่งลักษณะการทำงานก็จะคล้ายๆ กับ Menubar ของโปรแกรมอื่นๆ เช่น Photoshop , Illustrator เป็นต้น 
ที่มา http://www.edu-mine.com/indesign/lesson2_menubar.html 

รูปภาพของ pncPncpatcharapon

แบบเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic) คือ ไตเติลบาร์ (Title bar)
มีหน้าที่แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กำลังใช้งาน ซึ่งมุมด้านขวาจะมีปุ่มย่อ/ขยาย และปุ่มออกจากโปรแกรม

2. แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ (อังกฤษ: raster graphics) หรือ ภาพบิตแมป (อังกฤษ: bitmap) หรือ คือภาพที่ประกอบด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว มีข้อดีคือ เหมาะกับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี กำหนดสีที่ต้องการความละเอียดได้ง่าย ข้อเสีย คือเมื่อมีจุดสีที่คงที่นั่น ทำให้เวลาขยายภาพนั้นจะมีความละเอียดน้อยลง และถ้าเพิ่มขนาดความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์ภาพมีขนาดที่ใหญ่ และเปลืองพื้นที่ความจำ ไฟล์ภาพพวกนี้มีหลายรูปแบบ อาทิ เช่น BMP, TIF, JPG, PCT ฯลฯ โปรแกรมที่ใช้ เช่น โฟโต้ชอป, กิมป์  3. ไตเติลบาร์ (Title bar)
มีหน้าที่แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กำลังใช้งาน ซึ่งมุมด้านขวาจะมีปุ่มย่อ/ขยาย และปุ่มออกจากโปรแกรม

4. เมนูบาร์ (Menu bar)
เป็นเครื่องมือที่เก็บรวบรวมคำสั่งไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อใช้จัดการกับรูปภาพ และปรับค่าต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย
เมนู File มีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการสร้าง การเปิด การบันทึก และการตั้งค่าต่าง ๆๆ
เมนู Edit มีหน้าที่เกี่ยวกับการยกเลิก การคัดลอก การปรับเปลี่ยนต่าง ๆ
เมนู Image มีหน้าที่เกี่ยวกับการปรับภาพให้มีลักษณะสีต่าง ๆ และเปลี่ยนโหมดภาพ
เมนู Layer มีหน้าที่จัดการ Layer
เมนู Select มีหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกรูปภาพที่จะทำการแก้ไขปรับเปลี่ยน
เมนู Filter มีหน้าที่เกี่ยวกับการใส่ลักษณะต่าง ๆ ให้กับภาพ
เมนู View มีหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดมุมมองแบบต่าง ๆ
เมนู Window มีหน้าที่เปิด / ปิด พาเล็ตต่าง ๆ
เมนู Help มีหน้าที่แนะนำการใช้เครื่องมือต่าง ๆ

5. ออปชันบาร์ (Option bar)
เป็นส่วนที่ใช้ปรับรูปแบบของเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งออปชันบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เลือกใช้


7. พาเล็ตต่าง ๆ
เป็นหน้าต่างที่ใช้สำหรับประกอบการทำงานต่าง ๆ ซึ่งแต่ละพาเล็ตมีนห้าที่การทำงานที่แตกต่างกัน     

 

                         ใบงานชิ้นที่ 21.แบบเวกเตอร์กราฟิก(Vector graphicคือโดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือ สามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้น ข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้น โปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วยนำมาจาก http://th.wikipedia.org/wiki2.แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก  คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้นำมาจาก http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536 3.ไตเติลบาร์(Title bar)  คือ 4.เมนูบาร์(Menu bar) คือแถบเมนูเป็นที่เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม การเรียกใช้งานแถบเมนูทำได้โดยการเลื่อนเมาส์มาว่างที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิด แล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคำสั่ง เมื่อต้องการใช้ คำสั่งใด ๆ ก็ให้คลิกเมาส์ที่คำสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทำการเรียกใช้งานคำสั่งนั้น ๆ ถ้าคำสั่งนั้นมีเมนูย่อย ๆ โปรแกรมก็จะแสดงรายการคำสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป โปรแกรมเวิร์ดทุกรุ่น จะมีแถบเมนูคล้าย ๆ กันคือ แฟ้ม , แก้ไข, มุมมอง, แทรก, รูปแบบ, เครื่องมือ, แสดงภาพนิ่ง, มาจาก http://school.obec.go.th/kudhuachang/les302.htm    5.ออปชันบาร์(Option bar) คือ  6.กล่องเครื่องมือ(Toolbox) คือ

กล่องเครื่องมือเป็นแถบแนวตั้ง อยู่ทางด้านซ้ายของโปรแกรม มีหน้าที่บรรจุกลุ่มเครื่องมือต่างๆ เพื่อให้เราสามารถคลิกเสือใช้งานได้อย่างสะดวก

ที่ด้านบนสุดของกล่องเครื่องมือ ( ตรงกรอบสีเทา ) จะมีไอคอนลูกศรเล็กๆ วางอยู่ เราสามารถคลิกเลือกที่ลูกศรเพื่อเปลี่ยนให้กล่องเครื่องมือขยายตัวออกเป็นสองแถว หรือคลิกที่ลูกศรเดิมอีกครั้งกล่องเครื่องมือก็จะแสดงผลเป็นแบบแถวเดียว ( เลือกตามสะดวกค่ะ )มาจากhttp://www.edu-mine.com/indesign/lesson2_toolbox.html
 

   7.พาเลตต์(Palette) คือ  8.เลเยอร์(Layer) คือใช้ในการกำหนดค่าตำแหน่งส่วนประกอบที่เราจะวาง เมื่อลากเลเยอร์ระบุตำแหน่งในหน้า Document แล้ว เราจะใส่ข้อความ ,รูปภาพ , Plugin , Flash หรือแม้แต่ใส่เลเยอร์ซ่อนอยู่ข้างในอีกชั้นก็สามารถทำได้ และยังสามารถกำหนดว่าจะให้แสดง หรือ ไม่ให้แสดงก็ได้ส่วนมากจะใช้เป็นเทคนิคพิเศษต่าง มากกว่านำมาใช้ทั่วไป เพราะเลเยอร์ใช้กับ Internet Explorer ไม่มีปัญหา แต่ส่วนมากจะมีปัญหากับ Netscape เรื่องตำแหน่งที่วางส่วนมากตำแหน่งจะผิดพลาดและซ้อนทับกัน ในการออกแบบเวบใน ปัจจุบันจะใช้ตารางช่วยในการออกแบบเป็นหลักและเลเยอร์จะเป็นลูกเล่นที่เพิ่มเข้ามาเท่านั้นเอง

มาจาก http://www.dede.1accesshost.com/page12.html

 

รูปภาพของ pnckruuciap

ชื่ออะไร ให้คะแนนใครดีค่ะ

วราวุฒิ นาจวิจิตร   ม.2/4 เลขที่ 3

ใบงานชิ้นที่2

1.แบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic) คือ

ภาพกราฟิกเวกเตอร์ (อังกฤษ: vector graphics) โดยทั่วไปคือ ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติรวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือสามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาดหรือใกล้เคียง

2.แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ

ภาพกราฟิกแรสเตอร์ (อังกฤษ: raster graphics) หรือ ภาพบิตแมป (อังกฤษ: bitmap) หรือ คือภาพที่ประกอบด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัวมีข้อดีคือ เหมาะกับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสีกำหนดสีที่ต้องการความละเอียดได้ง่าย ข้อเสีย คือเมื่อมีจุดสีที่คงที่นั่นทำให้เวลาขยายภาพนั้นจะมีความละเอียดน้อยลง และถ้าเพิ่มขนาดความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์ภาพมีขนาดที่ใหญ่และเปลืองพื้นที่ความจำ ไฟล์ภาพพวกนี้มีหลายรูปแบบ อาทิ เช่นBMP, TIF, JPG, PCT ฯลฯ โปรแกรมที่ใช้ เช่น โฟโต้ชอป

3.ไตเติลบาร์ (Titel Bar) คือ

รูปภาพของ pnckruuciap

ชื่ออะไร pnc.. ชื่อจริง สิค่ะ แล้วนี้จะให้คะแนนใครดี

1.การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพหรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ

2. มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตารางแต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ"1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด)

3.ส่วนที่อยู่บนสุดของหน้าต่างโปรแกรมเป็นส่วนที่แสดงชื่อไฟล์และหัวเรื่องของเว็บเพจ (ปกติจะเป็น Untiled จนกว่าจะมี
เปลี่ยนชื่อไฟล์)และกลุ่มของปุ่มทางขวามือซึ่งจะใช้ควบคุมการย่อ/ขยาย/ปิดหน้าต่างที่แสดงอยู่นี้

4.เป็นที่เก็บคำสั่งที่จำเป็นต่างๆ เช่น การเปิดไฟล์ , สร้าง Movie ใหม่ ฯลฯ

5.เป็นส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่เช่นการกำหนดขนาดของหัวพู่กันในเครื่องมือสำหรับวาดภาพ

6.กล่องที่โปรแกรมใช้เก็บเครื่องมือสำหรับตกแต่งภาพเอาไว้โดยเครื่องมือในกล่องนี้จะถูกแยกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงาน  เช่น ดินสอ พู่กัน หรืองยางลบเป็นต้น

มาจาก  http://www.thaigoodview.com/comment/reply/100676#comment-form

รูปภาพของ pnckruuciap

pnc.. ชื่ออะไร มีด้วยหรอ แล้วจะให้คะแนนใครค่ะ

 

แสดงความคิดเห็น

ใบงานชิ้อนที่ 2

1.   

แบบเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic)คือ ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ (อังกฤษ: vectorgraphics) โดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติรวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือสามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลงข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้นข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้นโปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วย

เอามาจากเว็บ http://th.wikipedia.org/wiki

2.     

แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ กราฟิกบิตแมปมีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตารางแต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ"1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้นถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้าเราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้

เอามาจากเว็บ dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536

3.    

ไตเติลบาร์ (TitleBar) คือ  แถบชื่อ ที่แสดงชื่อของหน้าเพจอยู่บนสุดของหมาย่างซึ่งโดยปกติแล้วหมาย่างจะแสดงข้อความบนไตเติลบาร์ในรูปแบบ "Page- Mozilla Firefox" ตัวอย่างเช่น เมื่อเข้ามายังห้อง หมาย่างแฟนคลับ บริเวณไตเติลบาร์จะแสดงว่า "หมาย่าง FanClub- Mozilla Firefox" ดังรูปข้างล่างนี้ครับ

เอามาจากเว็บ http://www.zone-it.com/11502

 

 

 

 

4.  

เมนูบาร์คือ แถบเมนู (Menu Bar)

แถบเมนูเป็นที่เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรมการเรียกใช้งานแถบเมนูทำได้โดยการเลื่อนเมาส์มาว่างที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิดแล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคำสั่ง เมื่อต้องการใช้ คำสั่งใด ๆก็ให้คลิกเมาส์ที่คำสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทำการเรียกใช้งานคำสั่งนั้น ๆ ถ้าคำสั่งนั้นมีเมนูย่อยๆ โปรแกรมก็จะแสดงรายการคำสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป

 

เอามาจากเว็บ http://school.obec.go.th/kudhuachang/les302.htm

5.   

ออปชันบาร์ คือ แถบที่ใช้ในการปรับแต่ง
เครื่องมือต่างๆที่เราเลือกจาก 
Tool Box โดยแถบOption จะปรับเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกใช้อยู่ในขณะนั้น

เอามาจากเว็บ http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

6.   

กล่องเครื่องมือ คือ เครื่องมือที่ใช้เพื่อการทำงานตกแต่งรูปภาพเช่นการรีทัชภาพการตัดต่อภาพ
หน้าของเรากับดาราสาวสวยหุ่นเซ็ก
ซี่เข้าด้วยกันก็ต้องอาศัยเจ้าเครื่องมือใน Tool Box

เอามาจากเว็บ http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

7.   

พาเลตต์ คือ เครื่องมือที่ช่วยให้เราทำงานได้สะดวกมากขึ้น เช่น Color Palete
ช่วยในการเลือกสีเพื่อเติมสีให้กับงาน , หรือในกรณีที่เราแต่งรูปจนเละเทะเราก็ใช้ History Palete ช่วยให้เราย้อนการทำงาน

กลับไปยังตำแหน่งที่ที่เราต้องการ

เอามาจาก http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

8.   

เลเยอร์ คือ ป็นหัวใจการทำงานของ Photoshopเลยทีเดียว เพราะหลักการทำงานของ Photoshop เปรียบเสมือนกับการนำภาพมาตัดปะเป็นชั้นๆ ติดลงไปใน Art board เช่น สมมติเราจะทำภาพปะติดเรื่องบ้านของฉัน เราก็จะต้องตัดกระดาษครับหลักการทำงานของPhotoshop

 

 1.แบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic) คือ  โดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติรวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือ สามารถย่อขยายได้โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาดหรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้น ข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg,ps,eps,ai (adobe illustrator)และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้นโปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วย

เอามาจากเว็บ http://th.wikipdia.org/wiki



5.ออปชันบาร์(optionbar)คือเป็นส่วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือที่เลือกทำงานอยู่เช่นการกำหนดขนาดของหัวพู่กันในเครื่องมือสำหรับวาดภาพ

6.กลองเครื่องมือ(toolbox)คือกล่องที่โปรแกรมใช้เก็บเครื่องมือสำหรับตกแต่งภาพเอาไว้โดยเครื่องมือในกล่องนี้จะถูกแยกออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทำงาน  เช่น ดินสอ พู่กัน หรืองยางลบ เป็นต้น

 

1.   แบบเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic)คือ ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ (อังกฤษ: vectorgraphicsโดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติรวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือสามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลงข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้นข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้นโปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe Illustrator, InkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วย

เอามาจากเว็บ http://th.wikipedia.org/wiki

2.      แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ กราฟิกบิตแมปมีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตารางแต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ"1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้นถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้าเราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้

เอามาจากเว็บ dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536

3.    ไตเติลบาร์ (TitleBar) คือ  แถบชื่อ ที่แสดงชื่อของหน้าเพจอยู่บนสุดของหมาย่างซึ่งโดยปกติแล้วหมาย่างจะแสดงข้อความบนไตเติลบาร์ในรูปแบบ "Page- Mozilla Firefoxตัวอย่างเช่น เมื่อเข้ามายังห้อง หมาย่างแฟนคลับ บริเวณไตเติลบาร์จะแสดงว่า "หมาย่าง FanClub- Mozilla Firefoxดังรูปข้างล่างนี้ครับ

เอามาจากเว็บ http://www.zone-it.com/11502

 

 

 

 

4.  เมนูบาร์คือ แถบเมนู (Menu Bar)

แถบเมนูเป็นที่เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรมการเรียกใช้งานแถบเมนูทำได้โดยการเลื่อนเมาส์มาว่างที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิดแล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคำสั่ง เมื่อต้องการใช้ คำสั่งใด ๆก็ให้คลิกเมาส์ที่คำสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทำการเรียกใช้งานคำสั่งนั้น ๆ ถ้าคำสั่งนั้นมีเมนูย่อยๆ โปรแกรมก็จะแสดงรายการคำสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป

 

เอามาจากเว็บ http://school.obec.go.th/kudhuachang/les302.htm

5.   ออปชันบาร์ คือ แถบที่ใช้ในการปรับแต่ง
เครื่องมือต่างๆที่เราเลือกจาก 
Tool Box โดยแถบOption จะปรับเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เราเลือกใช้อยู่ในขณะนั้น

เอามาจากเว็บ http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

6.   กล่องเครื่องมือ คือ เครื่องมือที่ใช้เพื่อการทำงานตกแต่งรูปภาพเช่นการรีทัชภาพการตัดต่อภาพ
หน้าของเรากับดาราสาวสวยหุ่นเซ็ก
ซี่เข้าด้วยกันก็ต้องอาศัยเจ้าเครื่องมือใน Tool Box

เอามาจากเว็บ http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

7.   พาเลตต์ คือ เครื่องมือที่ช่วยให้เราทำงานได้สะดวกมากขึ้น เช่น Color Palete
ช่วยในการเลือกสีเพื่อเติมสีให้กับงาน หรือในกรณีที่เราแต่งรูปจนเละเทะเราก็ใช้History Palete ช่วยให้เราย้อนการทำงาน

กลับไปยังตำแหน่งที่ที่เราต้องการ

เอามาจาก http://tigergee101.tripod.com/PhtBasic.htm

8.    เลเยอร์ คือ ป็นหัวใจการทำงานของ Photoshopเลยทีเดียว เพราะหลักการทำงานของ Photoshop เปรียบเสมือนกับการนำภาพมาตัดปะเป็นชั้นๆ ติดลงไปใน Art board เช่น สมมติเราจะทำภาพปะติดเรื่องบ้านของฉัน เราก็จะต้องตัดกระดาษครับหลักการทำงานของPhotoshop

      

          1. แบบเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic) คือ 
            กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทาง         คณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ
       
2. แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ  ภาพกราฟิก  คือ  ภาพที่ผ่านการตกแต่งด้วยคอมพิวเตอร์ อาจเป็นภาพที่สร้างสรรค์ใหม่หมด หรือภาพที่นำมารีทัช โดยการใช้โปรแกรมกราฟิกมาสร้างสรรค์จนเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งโปรแกรม ด้านกราฟิกก็มีหลายโปรแกรมด้วยกัน แต่โปรแกรมที่นิยมใช้มากที่สุดคือ Ado

3. ไตเติลบาร์ (Title Bar) คือ

รูปภาพของ pnckruuciap

ชือ pnc อะไร ไม่ใช้ชื่อจริงจะให้คะแนนใครค่ะ

รูปภาพของ pnckruuciap

ชือ pnc อะไร ไม่ใช้ชื่อจริงจะให้คะแนนใครค่ะ

1.ตอบ กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ 

2.ตอบ ภาพแบบ Bitmap หรืออาจจะเรียกว่าภาพแบบราสเตอร์ (Raster) เป็นภาพที่เกิดจากจุดสีที่เรียกว่า pixels ซึ่งประกอบกันเป็นรูปร่างบนพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นเส้นตาราง (กริด) แต่ละพิกเซลจะมีค่าของตำแหน่ง และค่าสีของตัวเอง ภาพหนึ่งภาพ จะประกอบด้วพิกเซลหลายๆ พิกเซลผสมกัน แต่เนื่องจากพิกเซลมีขนาดเล็กมาก จึงเห็นภาพมีความละเอียดสวยงาม

 3.ตอบ  

 3.ตอบ ไตเติลบาร์ (Title bar)

มีหน้าที่แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์ที่กำลังใช้งานซึ่งมุมด้านขวาจะมีปุ่มย่อ/ขยาย และปุ่มออกจากโปรแกรม

4.ตอบ เมนูบาร์ (Menu bar)
เป็นเครื่องมือที่เก็บรวบรวมคำสั่งไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อใช้จัดการกับรูปภาพ และปรับค่าต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย
เมนู File มีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการสร้างการเปิด การบันทึก และการตั้งค่าต่าง ๆๆ
เมนู Edit มีหน้าที่เกี่ยวกับการยกเลิกการคัดลอก การปรับเปลี่ยนต่าง ๆ
เมนู Image มีหน้าที่เกี่ยวกับการปรับภาพให้มีลักษณะสีต่างๆ และเปลี่ยนโหมดภาพ
เมนู Layer มีหน้าที่จัดการ Layer
เมนู Select มีหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกรูปภาพที่จะทำการแก้ไขปรับเปลี่ยน
เมนู Filter มีหน้าที่เกี่ยวกับการใส่ลักษณะต่างๆ ให้กับภาพ
เมนู View มีหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดมุมมองแบบต่างๆ
เมนู Window มีหน้าที่เปิด / ปิด พาเล็ตต่าง ๆ
เมนู Help มีหน้าที่แนะนำการใช้เครื่องมือต่างๆ

5.ตอบ ออปชันบาร์ (Option bar)
เป็นส่วนที่ใช้ปรับรูปแบบของเครื่องมือต่างๆ ซึ่งออปชันบาร์จะเปลี่ยนไปตามเครื่องมือที่เลือกใช้

 

6.ตอบ กล่องเครื่องมือเป็นแถบแนวตั้งอยู่ทางด้านซ้ายของโปรแกรม มีหน้าที่บรรจุกลุ่มเครื่องมือต่างๆเพื่อให้เราสามารถคลิกเลือใช้งานได้อย่างสะดวกที่ด้านบนสุดของกล่องเครื่องมือ (ตรงกรอบสีเทา ) จะมีไอคอนลูกศรเล็กๆ วางอยู่เราสามารถคลิกเลือกที่ลูกศรเพื่อเปลี่ยนให้กล่องเครื่องมือขยายดัวออกเป็นสองแถวหรือคลิกที่ลูกศรเดิมอีกครั้งกล่องเครื่องมือก็จะแสดงผลเป็นแบบแถวเดียว


7.ตอบ พาเล็ตต่าง
เป็นหน้าต่างที่ใช้สำหรับประกอบการทำงานต่างๆ ซึ่งแต่ละพาเล็ตมีนห้าที่การทำงานที่แตกต่างกัน เช่น พาเล็ต color ใช้สำหรับเลือกสี , พาเล็ต History ใช้สำหรับบันทึกการทำงานที่ผ่านมา,พาเล็ต Layer ใช้สำหรับควบคุมการใช้งานเลเยอร์เป็นต้น

2.เป็นภาพที่สร้างด้วยส่วนประกอบของเส้นลักษณะต่างๆ
และคุณสมบัติเกี่ยวกับสีของเส้นนั้นๆ ซึ่งสร้างจากการคำนวณทางคณิตศาสตร์ 

4.  Photoshop เป็นโปรแกรมสำหรับการสร้างงานด้านกราฟิก
และเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในหมู่นักออกแบบ (
GraphicDesigner) เนื่องมาจากคุณสมบัติเด่นซึ่งมีอยู่อย่างมากมายไม่ว่านะเป็นความ
สามารถในการจัดการ กับไฟล์สารพัดชนิดที่ใช้ในงานประเภทต่างๆ
อีกทั้งยังสามารถตกแต่งหรือ แก้ไขภาพได้ตามความต้องการ ด้วยฟังชั่นของ
เอฟเฟ็คพิเศษซึ่งเป็นโปรแกรมที่ถือว่ามีความ
ยืดหยุ่นสูงและเป็นที่นิยมใช้กันอย่าง
แพร่หล่าย

แบบงานชิ่นที่2

1.แบบเวกเตอร์กราฟิก (vector graphic) ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ (อังกฤษvector graphics) โดยทั่วไปคือคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ที่เกิดจากการกำหนดพิกัดและการคำนวณค่าบนระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอร์ในทางคณิตศาสตร์ ในการก่อให้เกิดเป็น เส้น หรือรูปภาพ ข้อดีคือ สามารถย่อขยายได้ โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง ข้อเสียคือภาพไม่เหมือนภาพจริงเป็นได้เพียงภาพวาด หรือใกล้เคียงภาพถ่ายเท่านั้น ข้อมูลภาพพวกนี้ได้แก่ไฟล์สกุล svg, ps, eps, ai (adobe illustrator) และฟอนต์แบบ TrueType ต่างๆเป็นต้น โปรแกรมที่ใช้สร้างข้อมูลภาพประเภทนี้เช่น Adobe IllustratorInkScape ในบางครั้ง ภาพกราฟิกส์เวกเตอร์ยังอาจหมายถึงกราฟิกส์สามมิติอีกด้วย www.thaigoodview.com

2.แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ 

 ภาพกราฟิกส์แรสเตอร์ (อังกฤษraster graphics) หรือ ภาพบิตแมป (อังกฤษbitmap) หรือ คือภาพที่ประกอบด้วยจุดสีต่างๆที่มีจำนวนคงที่ตายตัว มีข้อดีคือ เหมาะกับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี กำหนดสีที่ต้องการความละเอียดได้ง่าย ข้อเสีย คือเมื่อมีจุดสีที่คงที่นั่น ทำให้เวลาขยายภาพนั้นจะมีความละเอียดน้อยลง และถ้าเพิ่มขนาดความละเอียดให้แก่ภาพ จะทำให้ไฟล์ภาพมีขนาดที่ใหญ่ และเปลืองพื้นที่ความจำ ไฟล์ภาพพวกนี้มีหลายรูปแบบ อาทิ เช่นBMPTIFJPGPCT ฯลฯ โปรแกรมที่ใช้ เช่น โฟโต้ชอปกิมป์ ฯลฯ www.thaigoodview.com

 3.ไตเติลบาร์(Menu Bar)Title bar คือ แถบชื่อ ที่แสดงชื่อของหน้าเพจอยู่บนสุดของหมาย่าง ซึ่งโดยปกติแล้วหมาย่างจะแสดงข้อความบนไตเติลบาร์ในรูปแบบ "Page - Mozilla Firefox" ตัวอย่างเช่น เมื่อเข้ามายังห้อง หมาย่างแฟนคลับ บริเวณไตเติลบาร์จะแสดงว่า "หมาย่าง FanClub - Mozilla Firefox" ดังรูปข้างล่างนี้ครับ www.thaigoodview.com

4.เมนูบาร์(Menu Bar)คือ

 การสร้างชิ้นงานใหม่

การเริ่มต้นสร้างชิ้นงานใด ๆ ใน Flash น้ันต้องทำการกำหนดค่าและคุณสมบั ิตของไฟล์งานที่เราต้อง

การเสียก่อน เพื่อให้ได้ไฟล์ที่ตรงกับงานที่จะนำไปใช้หลังการทำงานเสร็จและจะนำไฟล์ไปเผยแพร่ ึซ่งเรา

สามารถทำได้ 3 แบบคือ

1. สร้างชิ้นงานใหม่ด้วยการกำหนดรูปแบบเอง

2. สร้างโดยใช้เทมเพลต (Template)

3. สร้างจากไฟล์สำเร็จรูป

 

 

 

 

 

 

ข้อที่ 5 ออปชั่นบาร์ (option Bar)


ตอบ ออปชั่น (Options) หมายถึง สัญญาที่ผู้ขายออปชั่นให้สิทธิแก่ผู้ซื้อออปชั่น ในการซื้อหรือขายสินทรัพย์ในอนาคตตามราคาและจำนวนที่ได้ตกลงกันไว้ตามสัญญา โดยผู้ซื้อออปชั่นเป็นผู้ที่มีสิทธิในการตัดสินใจว่าจะใช้สิทธินั้นหรือไม่ก็ได้ โดยหากผู้ซื้อเลือกที่จะใช้สิทธิ ผู้ขายก็ต้องยอมให้ผู้ซื้อใช้สิทธิตามที่ตกลงกันไว้ โดยทั้งนี้ในวันที่ตกลงซื้อขายออปชั่น ผู้ซื้อออปชั่นจะต้องจ่ายเงินจำนวนหนึ่งให้แก่ผู้ขายออปชั่นเป็นการตอบแทนเพื่อแลกกับการได้สิทธิตามสัญญานั้น เราเรียกเงินจำนวนนี้ว่า "ค่าพรีเมี่ยม" (Premium) ออปชั่นมี 2 ประเภทด้วยกัน คือ คอลออปชั่น(Call Options) และ พุทออปชั่น (Put Options)   ที่มา http://th.distinctioneducation.org

ข้อที่ 6 กล่องเครื่องมือ (toolbook) 

ตอบ      Tool Box เป็นเครื่องมือที่เราใช้งานกันบ่อยที่สุดในโปรแกรม Photoshop สังเกตดูดีๆ

เครื่องมือบางตัวจะมีสามเหลี่ยมเล็กๆอยู่ด้วยนั่นแสดงว่ามีเครื่องมือในกลุ่มเดียวกันซ่อน 
อยู่อีก ให้คลิกขวาที่เครื่องมือนั้นแล้วจะปรากฎเครื่องมือที่ซ่อนอยู่ขึ้นมาให้เราได้ใช้งานกัน
 ที่มา 
http://tigergee101.tripod.com

ข้อ 7 พาเลตด์ (palette)  คือ

ตอบ    ก่อนอื่นต้องขอกล่าวถึง Palette ก่อนว่ามันคืออะไร เผื่อว่าจะมีบางคนที่ยังไม่รู้จักนะครับ Palette ก็คือหน้าต่างคำสั่งต่าง ๆ ที่จัดไว้เป็นชุด และใช้งานง่ายกว่าการใช้งานจากเมนูบาร์ ซึ่งเราสามารถที่จะเปิด/ปิด เพื่อแสดงเฉพาะบาง Palette ได้ ต่อไปเรา  ที่มา  http://www.thaigraph.com

ข้อที่ 8 เลเยอร์ (Layer)

ตอบ  

  

 

  

555555คว......

 

ใบงานชิ้นที่ 2

1. แบบเวกเตอร์กราฟิก ( vector graphic )  คือ กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ ที่มา http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5537

2. แบบบิตแมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ กราฟิกบิตแมป มีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้  ที่มา http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536

 3. ไตเติลบาร์ ( Title Bar ) คือ

 4. เมนูบาร์ ( Menu Bar ) คือแถบที่เก็บคำสั่งหลักของการทำงานในโปรแกรมวินโดวส์ ที่มา http://school.obec.go.th/kudhuachang/less5009.htm

5. ออปชันบาร์ (Option Bar) คือ

ดี คั๊ฟๆๆๆ 

 

ไอ ต้า หัว ... 

รูปภาพของ pnckruuciap

เวลาให้คะแนนครูจะรู้ได้ไงค่ะ ว่าเป็นใคร

ต้าๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

 1    เเบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic) คือ กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภา ืhttp://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5537 

 2 เเบบบิตเเมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ กราฟิกบิตแมป มีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้   http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536

 3 ไตเติลบาร์ (Title bar) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง  http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/title_bar/

                                                                                                                                                                       

          แบบเวกเตอร์กราฟิกคือ      กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ

 

  1    เเบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic) คือ กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภา  ืhttp://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5537 

 2 เเบบบิตเเมป หรือ ราสเตอร์กราฟิก คือ กราฟิกบิตแมป มีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้   http://www.dpu.ac.th/techno/page.php?id=5536

 3 ไตเติลบาร์ (Title bar) หมายถึง แถบยาวที่ส่วนบนของวินโดว์ เป็นที่ใช้บอกชื่อแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในวินโดว์นั้นหรือชื่อของงานที่เราสร้างขึ้น ในกรณีที่ไม่ได้กำหนดชื่อให้ไว้ แถบชื่อเรื่องนั้นจะพิมพ์คำว่า Untitled เอาไว้ให้รู้ว่ายังไม่ได้กำหนดชื่อใด ๆ ให้ และจะต้องตั้งชื่อเมื่อต้องการบันทึกลงในแฟ้มข้อมูลภายหลัง  http://guru.sanook.com/dictionary/dict_comp/title_bar/

   ใบงานที่2 

  ข้อที่1  เเบบเวกเตอร์กราฟิก(vector graphic) คือ

  ตอบ กราฟิกแบบเวกเตอร์ต่างจากบิตแมปตรงที่บิตแมปนั้นประกอบไปด้วย จุดต่างๆ มากมาย แต่กราฟิกแบบเวกเตอร์ใช้สมการทางคณิตศาสตร์เป็นตัวสร้างภาพ เช่น วงกลม หรือเส้นตรง เป็นต้น ถึงแม้ว่าอาจจะฟังดูซับซ้อนสักเล็กน้อยแต่ภาพบางชนิดก็ถูกสร้างได้ง่าย หลักที่จะนำไปสู่กราฟิกแบบเวกเตอร์ก็คือ การรวมเอาคำสั่งทางคอมพิวเตอร์และสูตรทางคณิตศาสตร์เพื่ออธิบายเกี่ยวกับออบเจ็กต์ ซึ่งจะปล่อยให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์เช่น จอภาพ หรือเครื่องพิมพ์เป็นตัวกำหนดเองว่าจะวางจุดจริงๆ ไว้ที่ตำแหน่งใดในการสร้างภาพ  ที่มาhttp://www.dpu.ac.th    

ข้อที่2 แบบบิตเเมป หรือ  ราสเตอร์กราฟิกคือ

ตอบ  กราฟิกบิตแมป มีความหมายที่ค่อนข้างจะตรงไปตรงมา คือ มีลักษณะเป็นช่องๆ เหมือนตาราง แต่ละบิตก็คือส่วนหนึ่งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ (ซึ่งก็คือสวิตซ์ปิดเปิดในหน่วยความจำ "1" หมายถึงเปิด และ "0" หมายถึงปิด) และสวิตซ์ปิดเปิดนี้ก็ยังหมายถึงสีดำและสีขาวอีกด้วย ดังนั้น ถ้าเราเอาบิตที่แตกต่างกันในแต่ละตารางมารวมกันเข้า เราจะสามารถสร้างภาพจากจุดดำและขาวเหล่านี้ได้ กราฟิกแบบบิตแมปทุกชนิดมีลักษณะที่เหมือนกันอยู่บางประการ ถ้าทำความเข้าใจส่วนต่างๆ เหล่านี้ เราสามารถที่จะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ ที่มา http://www.dpu.ac.th

 

 ข้อ3  ไตเติลบาร์(title bar) คือ

ตอบ    

ข้อ4 เมนูบาร์ (menu bar)

ตอบ แถบเมนูเป็นที่เก็บคำสั่งทั้งหมดของโปรแกรม การเรียกใช้งานแถบเมนูทำได้โดยการเลื่อนเมาส์มาว่างที่ชื่อเมนูที่ต้องการเปิด แล้วเลื่อนเมาส์ไปตามรายการคำสั่ง เมื่อต้องการใช้ คำสั่งใด ๆ ก็ให้คลิกเมาส์ที่คำสั่งนั้น โปรแกรมก็จะทำการเรียกใช้งานคำสั่งนั้น ๆ ถ้าคำสั่งนั้นมีเมนูย่อย ๆ โปรแกรมก็จะแสดงรายการคำสั่งย่อย ๆ ออกมาให้เลือกต่อไป

โปรแกรมเวิร์ดทุกรุ่น จะมีแถบเมนูคล้าย ๆ กันคือ แฟ้ม , แก้ไข , มุมมอง , แทรก , รูปแบบ , เครื่องมือ , แสดงภาพนิ่ง , หน้าตาง , วิธีใช้ แต่ละเมนูมีคำสั่งการใช้งานแตกต่างกันออกไป ที่มา  http://school.obec.go.th 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 515 คน กำลังออนไลน์