• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e8674e8fab929a9ef569f441a21ac97c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/ur12154l.jpg\" width=\"465\" height=\"311\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_0.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a><a href=\"/node/96112?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_1.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a> <a href=\"/node/96112?page=0%2C2\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_2.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_3.jpg\" width=\"160\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/aa55.jpg\" width=\"481\" height=\"131\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><br />\n</b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div>\n<b><span style=\"color: #ff00ff\">ในร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการลำเลียงสารต่างๆที่จำเป็น ได้แก่ สารอาหาร ก๊าซออกซิเจน ไปยังเซลล์ต่างๆของร่างกาย และลำเลียงสิ่งที่ไม่จำเป็นออกจากร่างกาย ซึ่ง เกิดขึ้นจากขบวนการเมตาบอลิซึม(Metabolism)ไปยังอวัยวะบางอย่างเพื่อขับถ่ายออกจาก ร่างกาย <br />\nนอกจากนี้ยังมีการลำเลียงสารต่างๆที่ร่างกายสร้างขึ้น เช่น ฮอร์โมน แอนติบอดี ไปยังส่วนต่างๆของร่างกายที่ต้องการสารชนิดนั้นๆ การลำเลียงต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็คือ ระบบหมุนเวียนเลือดนั่นเอง ด้วยเหตุนี้เองระบบการหมุนเวียนเลือดจึง ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นต่อคนเราอย่างมาก <br />\nระบบหมุนเวียนเลือดของคน เป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด โดยมีเลือดอยู่ภายในหัวใจและเส้นเลือดตลอดเวลา โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือดของคน ประกอบด้วย <br />\n1.หัวใจ ทำหน้าที่ ในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย และสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอด <br />\n2.เส้นเลือด ทำหน้าที่ เป็นท่อลำเลียงเลือดไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย <br />\n3.เลือด ทำหน้าที่ ลำเลียงก๊าซและสารต่างๆไปตามส่วนต่างๆของร่ากาย<br />\nโครงสร้างของหัวใจ หัวใจของคนที่โตเต็มวัยจะมีขนาดกว้างประมาณ 9 cm. ยาว 12.5 cm. และหนา 5 cm. มีน้ำหนักประมาณ 300 กรัม มีตำแหน่งอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู่ภายในเยื่อหุ้มหัวใจที่เรียกว่า เยื่อเพอริคาร์เดียม (pericardium) \n<p>โครงสร้างของหัวใจ</p>\n<p>1.กล้ามเนื้อหัวใจ<br />\nกล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหุ้ม 3 ชั้น <br />\n- ชั้นนอก (epicardium)เป็นชั้นที่หุ้มหัวใจไว้มีเนื้อเยื่อไขมันเป็นจำนวนมาก และจะพบเส้นเลือดขนาดใหญ่ผ่านชั้นนี้ ที่ผนังด้านนอกของหัวใจที่เส้นเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงหัวใจ เรียกเส้นเลือดนี้ว่า โคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) เป็นเส้นเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หากเส้นนี้เกิดการอุดตันแล้วเลือดจะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจทำให้หัวใจวายถึงตายได้ <br />\n- ชั้นกลาง (myocardium) เป็นชั้นที่หนามากที่สุด ประกอบขึ้นจากกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) โดยเฉพาะ และเป็นส่วนของกล้ามเนื้อหัวใจซึ่งมีลักษณะพิเศษที่มีการทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ และมีลายเล็กน้อย<br />\n- ชั้นใน (endocardium) เป็นชั้นที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิว กล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมากมาย</p>\n<p>\n2.ห้องหัวใจ <br />\nหัวใจคนมี 4 ห้อง คือ ห้องบน (atrium, auricle) 2 ห้อง และห้องล่าง (ventricle) 2 ห้อง แต่ละห้องแยกกันอย่างสมบูรณ์ ดังนี้</p>\n<p>\n3.ลิ้นหัวใจ<br />\nลิ้นหัวใจ เป็นโครงสร้างที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ลิ้นภายในหัวใจมีตำแหน่งลักษณะและชื่อเรียกดังนี้ <br />\n- ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) อยู่ระหว่างหัวใจห้องเอเตรียมขวาและเวนตริเคิลขวา มีลักษณะเป็นแผ่น 3 แผ่น ที่ขอบของแต่ละลิ้นจะยึดติดกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและผนังของเวนตริเคิลเพือควบคุมการปิดเปิดลิ้น ป้องกันไม่ให้เลือดในเวนตริเคิลขวาไหลย้อนกลับขึ้นสู่เอเตรียมขวา<br />\n- ลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา<br />\n- ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา<br />\n- ลิ้นเอออร์ติก เซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา</p>\n<p>4.เนื้อเยื่อของหัวใจ<br />\nเนื้อเยื่อหัวใจมี 4 ชนิด คือ<br />\n- เนื้อเยื่อบุผิว เป็นเนื้อเยื่อที่บุทั้งภายนอกและภายในหัวใจ<br />\n- เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ ยึดลิ้นหัวใจ และกล้ามเนื้อหัวใจ<br />\n- เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นเนื้อเยื่อซึ่งแตกต่างจากกล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อเรียบ ที่ไม่มีลายมากเหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่ไม่อยู่ในอำนาจจิตเหมือนกับกล้ามเนื้อเรียบ<br />\n- เนื้อเยื่อโดนัล เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจากกล้ามเนื้อหัวใจในระยะ embryo ขณะที่สร้างกล้ามเนื้อหัวใจ แต่การหดตัวไม่ดีเท่ากล้ามเนื้อหัวใจ แต่สามารถเกิด depolarization ได้ดีกว่า พร้อมกับเกิดการนำกระแสประสาท หัวใจจึงหดตัวได้โดยไม่ต้องมีสิ่งใดมากระตุ้น </p>\n<p>วงจรการทำงานของหัวใจ </p>\n<p>ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มการเต้นของหัวใจ จนกระทั่งถึงการเต้นของหัวใจครั้งต่อไป เรียกว่า 1 วงจร ซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัว (systole) เพื่อไล่เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างหรือไล่เลือดออกไปสู่เส้นเลือด หลังจากนั้นกล้ามเนื้อจะคลายตัว (diastole) เพื่อให้เลือดเข้ามาสู่หัวใจห้องที่ว่าง แล้วเริ่มวงจรใหม่ต่อไป ในแต่ละวงจรจะมีการกระตุ้นที่ S - A node แล้วส่งกระแสประสาทไปยัง A - V node ซึ่งอยู่ที่ฐานของผนังหัวใจห้องขวา แล้วส่งไปยังใยประสาทที่เรียกว่า A - V bundle หรือ Bundle of His แล้วแยกกิ่งไปยัง Ventricle ซ้ายและขวาทางเส้นใยที่เรียกว่า Purkinje fibers ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว และในแต่ละวงจรจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางไฟฟ้าและทางกล เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ สามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้โดยใช้เครื่อง electrocardiograph แล้วแสดงออกมาเป็นกราฟที่เรียกว่า electrocardiogram ซึ่งเรียกกันย่อๆว่า EKG หรือ ECG ซึ่ง EKG หรือ ECG มีประโยชน์ในการแพทย์สำหรับตรวจการทำงานของหัวใจ</p></span></b>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/ur12154l.jpg\" width=\"465\" height=\"311\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_0.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a><a href=\"/node/96112?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_1.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a> <a href=\"/node/96112?page=0%2C2\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_2.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_3.jpg\" width=\"160\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/aa55.jpg\" width=\"481\" height=\"131\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>วัสดุอุปกรณ์</b></span>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n1. หัวใจหมู  หรือหัวใจวัว  2. ถุงมือยาง  3. เครื่องมือผ่าตัด 4. ถาดผ่าตัด\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>วิธีทดลอง </b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<b>            ศึกษาหัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดใดชนิดหนึ่งเช่น<br />\nหัวใจหมู หรือ หัวใจวัว<br />\nโดยให้นักเรียนสวมถุงมือยางนำหัวใจมาล้างให้สะอาดแล้วดำเนินการดังนี้ </b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n1. สังเกตขนาด รุปร่างภายนอก และหลอดเลือดเล็กๆ ที่ผิวรอบนอกสุดของหัวใจ\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n2. สังเกตความหนาของผนังหลอดเลือดที่ติดต่อกับหัวใจ ใช้แท่งแก้วหรือใช้นิ้วสอดลงไปตามหลอดเลือดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n3. ใช้กรรไกรผ่าตัดผนังหลอดเลือดนั้นเข้ามาจนถึงโคนหลอดเลือด<br />\nและตัดต่อเข้าไปจนถึงผนังห้องหัวใจ<br />\nสังเกตลักษณะของลิ้นหัวใจที่กั้นระหว่างห้องเอเตรียมและห้องเวนตริเคิลใช้<br />\nกรรไกรตัดส่วนปลายล่างสุดของหัวใจห้องเวนตริเคิลให้เป็นช่องและลองปล่อยให้<br />\nน้ำไหลต้านลิ้นหัวใจสังเกตว่าลิ้นเปิดหรือปิด\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n4. ใช้มีดผ่าผนังหัวใจต่อไปจนถึงโคนหลอดเลือดเส้นหนึ่ง<br />\nใช้แท่งแก้วหรือนิ้วมือสอดไปตามหลอดเลือดที่ติดต่อกับหัวใจห้องนี้<br />\nสังเกตลิ้นที่อยู่โคนหลอดเลือดนี้<br />\n5. ทำเช่นเดียวกับข้อ 3 และ 4 กับหลอดเลือดใหญ่อีกเส้นหนึ่งแล้วผ่าหัวใจตามยาวออกเป็นซีกซ้ายและขวา สังเกตห้องทั้ง 4 ภายในหัวใจ\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n6. ใช้เข็มเขี่ยตรงบริเวณลิ้นที่กั้นภายในหลอดเลือดที่ออกจากหัวใจ<br />\nห้องเวนตริเคิลซ้ายซึ่งมี 3 แฉกเพื่อศึกษาช่องทางที่เลือดจะไปเลี้ยงหัวใจ\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n7. รายงานสรุปผลการศึกษาโครงสร้างหัวใจและทิศทางการหมุนเวียนเลือดผ่าหัวใจ\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/ur12154l.jpg\" width=\"465\" height=\"311\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_0.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a><a href=\"/node/96112?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_1.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a> <a href=\"/node/96112?page=0%2C2\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_2.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_3.jpg\" width=\"160\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/aa55.jpg\" width=\"481\" height=\"131\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #993300\"><b>V.D.O </b></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800000\"><b><span style=\"color: #800080\">โครงสร้างของหัวใจ</span> </b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<b><span style=\"color: #999999\"> </span></b>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><b>V.D.O…1</b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/C4b2636mWaE\" title=\"YouTube video player\" width=\"640\" frameborder=\"0\" height=\"390\"></iframe> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><b>V.D.O…2</b></span> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/Hyi9NIaHSEQ\" title=\"YouTube video player\" width=\"640\" frameborder=\"0\" height=\"390\"></iframe>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/ur12154l.jpg\" width=\"465\" height=\"311\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_0.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a><a href=\"/node/96112?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_1.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a> <a href=\"/node/96112?page=0%2C2\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_2.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_3.jpg\" width=\"160\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/aa55.jpg\" width=\"481\" height=\"131\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #800080\"><b>สรุปผลการทดลอง </b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<h3 class=\"post-title entry-title\"><a href=\"http://cardiac-blog.blogspot.com/2009/08/blog-post.html\"><b>โครงสร้างหัวใจ</b></a><b> </b></h3>\n<div class=\"post-header-line-1\">\n</div>\n<div class=\"post-body entry-content\">\n<span style=\"font-weight: bold; font-family: arial\">หัวใจ (Heart) </span><span style=\"font-family: arial\">เป็น<br />\nอวัยวะที่มีความมหัศจรรย์มาก<br />\nกลุ่มเซลล์มีการก่อร่างสร้างหัวใจขึ้นตั้งแต่ยังเป็นตัวอ่อนในครรภ์มารดา<br />\nหัวใจเริ่มเต้นแล้ว และจะเต้นตลอดไป ไม่มีวันหยุดตราบเท่าที่ยังมีชีวิต<br />\nหัวใจไม่เคยมีวันพัก จึงเป็นอวัยวะที่มีความแข็งแรงมาก ก็ไม่ทราบเหมือนกัน<br />\nว่าทำไมใครๆจึงชอบเปรียบเทียบ เรื่องของอารมณ์ จิตใจเป็น”หัวใจ”ไปเสียหมด<br />\nทั้งๆที่ความจริงแล้วหัวใจคนเราแข็งแรงกว่า จิตใจมากนัก</span>\n</div>\n<div class=\"post-body entry-content\">\nเราสามารถแบ่งหัวใจออกตามลักษณะ (กายวิภาค Anatomy of heart) และตามหน้าที่<br />\n(Function of heart )ได้ ดังนี้\n<p>\n<span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">เยื่อหุ้มหัวใจ (pericardium)</span><br />\nเป็นเยื่อบางๆ ใสๆ ห่อหุ้มหัวใจไว้ เป็นสาเหตุของโรคบางชนิด เช่น<br />\nเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ติดเชื้อ มะเร็งแพร่กระจาย มายังเยื่อหุ้มหัวใจ<br />\nเป็นต้น เยื่อหุ้มหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญแต่ไม่จำเป็นถึงชีวิต<br />\nในกรณีที่เป็นโรค เราอาจทำการผ่าตัดเลาะ เยื่อหุ้มหัวใจทิ้งได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">หลอดเลือดหัวใจ</span><br />\nจะอยู่บริเวณภายนอกหัวใจ (ที่มีเยื่อหุ้มหัวใจอยู่ ) ส่ง<br />\nแขนงเล็กๆลงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หลอดเลือดหัวใจมีเส้นใหญ่ๆ อยู่ 2 เส้น<br />\nคือ ขวา (right coronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านขวา และซ้าย (left<br />\ncoronary artery) เลี้ยงหัวใจด้านซ้ายเป็นส่วนใหญ่ ด้านซ้ายจะแตกแขนงใหญ่ๆ 2<br />\nแขนง คือ left anterior descending artery และ left circumflex artery<br />\nซึ่งจะมีแขนงเล็กๆ อีกมากมาย โรคของหลอดเลือดหัวใจอาจเกิดจากหลายสาเหตุ<br />\nแต่ที่พบบ่อยที่สุด เกิดจากการสะสมของไขมันที่ผนัง ทำให้หลอด<br />\nเลือดหัวใจตีบและตันในที่สุด (ไม่ใช่มีก้อนไขมันในเลือดลอยไปอุดตัน<br />\nตามที่เข้าใจกัน)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">กล้ามเนื้อหัวใจ</span><br />\nเป็นส่วนที่ทำหน้าที่ในการบีบตัวไล่เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย<br />\nและขยายตัวเพื่อรับเลือดกลับเข้าสู่หัวใจ จึงเป็นส่วนที่มี<br />\nความสำคัญอย่างมาก หากกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัวหรือคลายตัวผิดปกติแล้ว<br />\nก็จะทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา ซึ่งส่วน<br />\nมากอาจไม่สามารถแก้ไขให้กลับเป็นปกติได้<br />\nการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจต้องอาศัยพลังงานที่ได้จากสารอาหารที่ถูกนำมาโดย<br />\nหลอดเลือดหัวใจ ดังนั้นโรคของหลอดเลือดหัวใจจึงมีผลต่อกล้ามเนื้อหัวใจ<br />\nโดยตรง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: arial\"><span style=\"font-weight: bold\">ลิ้นหัวใจ</span> และ <span style=\"font-weight: bold\">ผนังกั้นห้องหัวใจ </span>หัวใจ<br />\nคนเรามี 4 ห้องแบ่ง ซ้าย-ขวา โดยผนังของกล้ามเนื้อหัวใจ และแบ่งห้อง<br />\nบน-ล่าง โดยลิ้นหัวใจ เลือดระหว่างห้องซ้าย-ขวาจึงไม่ปะปนกัน<br />\nในบางครั้งการสร้างผนังกันห้องหัวใจไม่สมบูรณ์ เกิดเป็นรูโหว่ขึ้นได้<br />\nเป็นชนิดหนึ่งของโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด<br />\nลิ้นหัวใจทำหน้าที่ให้เลือดไหลผ่านและไม่ไหลย้อนกลับ<br />\nดังนั้นหากลิ้นหัวใจผิดปกติ เช่น ตีบ ฉีกขาด ปิดไม่สนิท(รั่ว)<br />\nก็ย่อมทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้น<br />\nโรคลิ้นหัวใจที่เป็นปัญหามากที่สุดคือลิ้นหัวใจพิการรูมาห์ติค ซึ่งเป็นผล<br />\nจากการติดเชื้อคออักเสบ</span>\n</p>\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: arial\"><b>ในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังทุก<br />\nชนิดมีระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดและมีหัวใจ    ตั้งแต่ 2 ห้อง คือ พวกปลา <br />\nหัวใจ 3 ห้อง ในพวกกบ หรือสัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก หัวใจ 4 ห้องไม่สมบูรณ์<br />\nหรือ 3 ห้อง ได้แก่ พวกสัตว์เลื้อยคลาน จนถึงพวกนก<br />\nและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมมีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์</b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/u48451rl.jpg\" width=\"400\" height=\"397\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1716940842, expire = 1717027242, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e8674e8fab929a9ef569f441a21ac97c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e5f16820b88ad3d4a17188289f8c6829' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/ur12154l.jpg\" width=\"465\" height=\"311\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_0.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a><a href=\"/node/96112?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_1.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a> <a href=\"/node/96112?page=0%2C2\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_2.jpg\" width=\"160\" align=\"left\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/96112?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u29991/ur71714l_3.jpg\" width=\"160\" height=\"197\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u29991/aa55.jpg\" width=\"481\" height=\"131\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><br />\n</b></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div>\n<b><span style=\"color: #ff00ff\">ในร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการลำเลียงสารต่างๆที่จำเป็น ได้แก่ สารอาหาร ก๊าซออกซิเจน ไปยังเซลล์ต่างๆของร่างกาย และลำเลียงสิ่งที่ไม่จำเป็นออกจากร่างกาย ซึ่ง เกิดขึ้นจากขบวนการเมตาบอลิซึม(Metabolism)ไปยังอวัยวะบางอย่างเพื่อขับถ่ายออกจาก ร่างกาย <br />\nนอกจากนี้ยังมีการลำเลียงสารต่างๆที่ร่างกายสร้างขึ้น เช่น ฮอร์โมน แอนติบอดี ไปยังส่วนต่างๆของร่างกายที่ต้องการสารชนิดนั้นๆ การลำเลียงต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็คือ ระบบหมุนเวียนเลือดนั่นเอง ด้วยเหตุนี้เองระบบการหมุนเวียนเลือดจึง ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นต่อคนเราอย่างมาก <br />\nระบบหมุนเวียนเลือดของคน เป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด โดยมีเลือดอยู่ภายในหัวใจและเส้นเลือดตลอดเวลา โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือดของคน ประกอบด้วย <br />\n1.หัวใจ ทำหน้าที่ ในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย และสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอด <br />\n2.เส้นเลือด ทำหน้าที่ เป็นท่อลำเลียงเลือดไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย <br />\n3.เลือด ทำหน้าที่ ลำเลียงก๊าซและสารต่างๆไปตามส่วนต่างๆของร่ากาย<br />\nโครงสร้างของหัวใจ หัวใจของคนที่โตเต็มวัยจะมีขนาดกว้างประมาณ 9 cm. ยาว 12.5 cm. และหนา 5 cm. มีน้ำหนักประมาณ 300 กรัม มีตำแหน่งอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู่ภายในเยื่อหุ้มหัวใจที่เรียกว่า เยื่อเพอริคาร์เดียม (pericardium) \n<p>โครงสร้างของหัวใจ</p>\n<p>1.กล้ามเนื้อหัวใจ<br />\nกล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหุ้ม 3 ชั้น <br />\n- ชั้นนอก (epicardium)เป็นชั้นที่หุ้มหัวใจไว้มีเนื้อเยื่อไขมันเป็นจำนวนมาก และจะพบเส้นเลือดขนาดใหญ่ผ่านชั้นนี้ ที่ผนังด้านนอกของหัวใจที่เส้นเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงหัวใจ เรียกเส้นเลือดนี้ว่า โคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) เป็นเส้นเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หากเส้นนี้เกิดการอุดตันแล้วเลือดจะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจทำให้หัวใจวายถึงตายได้ <br />\n- ชั้นกลาง (myocardium) เป็นชั้นที่หนามากที่สุด ประกอบขึ้นจากกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) โดยเฉพาะ และเป็นส่วนของกล้ามเนื้อหัวใจซึ่งมีลักษณะพิเศษที่มีการทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ และมีลายเล็กน้อย<br />\n- ชั้นใน (endocardium) เป็นชั้นที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิว กล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมากมาย</p>\n<p>\n2.ห้องหัวใจ <br />\nหัวใจคนมี 4 ห้อง คือ ห้องบน (atrium, auricle) 2 ห้อง และห้องล่าง (ventricle) 2 ห้อง แต่ละห้องแยกกันอย่างสมบูรณ์ ดังนี้</p>\n<p>\n3.ลิ้นหัวใจ<br />\nลิ้นหัวใจ เป็นโครงสร้างที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ลิ้นภายในหัวใจมีตำแหน่งลักษณะและชื่อเรียกดังนี้ <br />\n- ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) อยู่ระหว่างหัวใจห้องเอเตรียมขวาและเวนตริเคิลขวา มีลักษณะเป็นแผ่น 3 แผ่น ที่ขอบของแต่ละลิ้นจะยึดติดกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและผนังของเวนตริเคิลเพือควบคุมการปิดเปิดลิ้น ป้องกันไม่ให้เลือดในเวนตริเคิลขวาไหลย้อนกลับขึ้นสู่เอเตรียมขวา<br />\n- ลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา<br />\n- ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา<br />\n- ลิ้นเอออร์ติก เซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา</p>\n<p>4.เนื้อเยื่อของหัวใจ<br />\nเนื้อเยื่อหัวใจมี 4 ชนิด คือ<br />\n- เนื้อเยื่อบุผิว เป็นเนื้อเยื่อที่บุทั้งภายนอกและภายในหัวใจ<br />\n- เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ ยึดลิ้นหัวใจ และกล้ามเนื้อหัวใจ<br />\n- เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นเนื้อเยื่อซึ่งแตกต่างจากกล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อเรียบ ที่ไม่มีลายมากเหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่ไม่อยู่ในอำนาจจิตเหมือนกับกล้ามเนื้อเรียบ<br />\n- เนื้อเยื่อโดนัล เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจากกล้ามเนื้อหัวใจในระยะ embryo ขณะที่สร้างกล้ามเนื้อหัวใจ แต่การหดตัวไม่ดีเท่ากล้ามเนื้อหัวใจ แต่สามารถเกิด depolarization ได้ดีกว่า พร้อมกับเกิดการนำกระแสประสาท หัวใจจึงหดตัวได้โดยไม่ต้องมีสิ่งใดมากระตุ้น </p>\n<p>วงจรการทำงานของหัวใจ </p>\n<p>ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มการเต้นของหัวใจ จนกระทั่งถึงการเต้นของหัวใจครั้งต่อไป เรียกว่า 1 วงจร ซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัว (systole) เพื่อไล่เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างหรือไล่เลือดออกไปสู่เส้นเลือด หลังจากนั้นกล้ามเนื้อจะคลายตัว (diastole) เพื่อให้เลือดเข้ามาสู่หัวใจห้องที่ว่าง แล้วเริ่มวงจรใหม่ต่อไป ในแต่ละวงจรจะมีการกระตุ้นที่ S - A node แล้วส่งกระแสประสาทไปยัง A - V node ซึ่งอยู่ที่ฐานของผนังหัวใจห้องขวา แล้วส่งไปยังใยประสาทที่เรียกว่า A - V bundle หรือ Bundle of His แล้วแยกกิ่งไปยัง Ventricle ซ้ายและขวาทางเส้นใยที่เรียกว่า Purkinje fibers ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว และในแต่ละวงจรจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางไฟฟ้าและทางกล เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ สามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้โดยใช้เครื่อง electrocardiograph แล้วแสดงออกมาเป็นกราฟที่เรียกว่า electrocardiogram ซึ่งเรียกกันย่อๆว่า EKG หรือ ECG ซึ่ง EKG หรือ ECG มีประโยชน์ในการแพทย์สำหรับตรวจการทำงานของหัวใจ</p></span></b>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>', created = 1716940842, expire = 1717027242, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e5f16820b88ad3d4a17188289f8c6829' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้างหัวใจ

รูปภาพของ msw7606

ในร่างกายของคนเราจำเป็นต้องมีการลำเลียงสารต่างๆที่จำเป็น ได้แก่ สารอาหาร ก๊าซออกซิเจน ไปยังเซลล์ต่างๆของร่างกาย และลำเลียงสิ่งที่ไม่จำเป็นออกจากร่างกาย ซึ่ง เกิดขึ้นจากขบวนการเมตาบอลิซึม(Metabolism)ไปยังอวัยวะบางอย่างเพื่อขับถ่ายออกจาก ร่างกาย
นอกจากนี้ยังมีการลำเลียงสารต่างๆที่ร่างกายสร้างขึ้น เช่น ฮอร์โมน แอนติบอดี ไปยังส่วนต่างๆของร่างกายที่ต้องการสารชนิดนั้นๆ การลำเลียงต่างๆที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็คือ ระบบหมุนเวียนเลือดนั่นเอง ด้วยเหตุนี้เองระบบการหมุนเวียนเลือดจึง ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญ และจำเป็นต่อคนเราอย่างมาก
ระบบหมุนเวียนเลือดของคน เป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด โดยมีเลือดอยู่ภายในหัวใจและเส้นเลือดตลอดเวลา โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับระบบหมุนเวียนเลือดของคน ประกอบด้วย
1.หัวใจ ทำหน้าที่ ในการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย และสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอด
2.เส้นเลือด ทำหน้าที่ เป็นท่อลำเลียงเลือดไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย
3.เลือด ทำหน้าที่ ลำเลียงก๊าซและสารต่างๆไปตามส่วนต่างๆของร่ากาย
โครงสร้างของหัวใจ หัวใจของคนที่โตเต็มวัยจะมีขนาดกว้างประมาณ 9 cm. ยาว 12.5 cm. และหนา 5 cm. มีน้ำหนักประมาณ 300 กรัม มีตำแหน่งอยู่ภายในช่องอกระหว่างปอดทั้ง 2 ข้าง ค่อนไปทางซ้ายเล็กน้อย หัวใจอยู่ภายในเยื่อหุ้มหัวใจที่เรียกว่า เยื่อเพอริคาร์เดียม (pericardium)

โครงสร้างของหัวใจ

1.กล้ามเนื้อหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหุ้ม 3 ชั้น
- ชั้นนอก (epicardium)เป็นชั้นที่หุ้มหัวใจไว้มีเนื้อเยื่อไขมันเป็นจำนวนมาก และจะพบเส้นเลือดขนาดใหญ่ผ่านชั้นนี้ ที่ผนังด้านนอกของหัวใจที่เส้นเลือดที่นำเลือดมาเลี้ยงหัวใจ เรียกเส้นเลือดนี้ว่า โคโรนารี อาร์เทอรี (coronary artery) เป็นเส้นเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ หากเส้นนี้เกิดการอุดตันแล้วเลือดจะไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย อาจทำให้หัวใจวายถึงตายได้
- ชั้นกลาง (myocardium) เป็นชั้นที่หนามากที่สุด ประกอบขึ้นจากกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) โดยเฉพาะ และเป็นส่วนของกล้ามเนื้อหัวใจซึ่งมีลักษณะพิเศษที่มีการทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ และมีลายเล็กน้อย
- ชั้นใน (endocardium) เป็นชั้นที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อบุผิว กล้ามเนื้อเรียบและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันมากมาย

2.ห้องหัวใจ
หัวใจคนมี 4 ห้อง คือ ห้องบน (atrium, auricle) 2 ห้อง และห้องล่าง (ventricle) 2 ห้อง แต่ละห้องแยกกันอย่างสมบูรณ์ ดังนี้

3.ลิ้นหัวใจ
ลิ้นหัวใจ เป็นโครงสร้างที่ป้องกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ลิ้นภายในหัวใจมีตำแหน่งลักษณะและชื่อเรียกดังนี้
- ลิ้นไตรคัสปิด (tricuspid valve) อยู่ระหว่างหัวใจห้องเอเตรียมขวาและเวนตริเคิลขวา มีลักษณะเป็นแผ่น 3 แผ่น ที่ขอบของแต่ละลิ้นจะยึดติดกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพันและผนังของเวนตริเคิลเพือควบคุมการปิดเปิดลิ้น ป้องกันไม่ให้เลือดในเวนตริเคิลขวาไหลย้อนกลับขึ้นสู่เอเตรียมขวา
- ลิ้นพัลโมนารี เซมิลูนาร์ (pulmonary semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา
- ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา
- ลิ้นเอออร์ติก เซมิลูนาร์ (aortic semilunar valve) อยู่ที่โคนของเส้นเลือดพัลโมนารีอาร์เทอรี มีลักษณะเป็นถุงรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยว 3 ใบ บรรจบกันแต่ไม่ได้ยึดติดกันด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ทำหน้าที่กันไม่ให้เลือดไหลกลับสู่เวนตริเคิลขวา

4.เนื้อเยื่อของหัวใจ
เนื้อเยื่อหัวใจมี 4 ชนิด คือ
- เนื้อเยื่อบุผิว เป็นเนื้อเยื่อที่บุทั้งภายนอกและภายในหัวใจ
- เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่ ยึดลิ้นหัวใจ และกล้ามเนื้อหัวใจ
- เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นเนื้อเยื่อซึ่งแตกต่างจากกล้ามเนื้อลายและกล้ามเนื้อเรียบ ที่ไม่มีลายมากเหมือนกล้ามเนื้อลาย แต่ไม่อยู่ในอำนาจจิตเหมือนกับกล้ามเนื้อเรียบ
- เนื้อเยื่อโดนัล เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจากกล้ามเนื้อหัวใจในระยะ embryo ขณะที่สร้างกล้ามเนื้อหัวใจ แต่การหดตัวไม่ดีเท่ากล้ามเนื้อหัวใจ แต่สามารถเกิด depolarization ได้ดีกว่า พร้อมกับเกิดการนำกระแสประสาท หัวใจจึงหดตัวได้โดยไม่ต้องมีสิ่งใดมากระตุ้น

วงจรการทำงานของหัวใจ

ระยะเวลาตั้งแต่เริ่มการเต้นของหัวใจ จนกระทั่งถึงการเต้นของหัวใจครั้งต่อไป เรียกว่า 1 วงจร ซึ่งประกอบด้วย กล้ามเนื้อหัวใจบีบตัว (systole) เพื่อไล่เลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างหรือไล่เลือดออกไปสู่เส้นเลือด หลังจากนั้นกล้ามเนื้อจะคลายตัว (diastole) เพื่อให้เลือดเข้ามาสู่หัวใจห้องที่ว่าง แล้วเริ่มวงจรใหม่ต่อไป ในแต่ละวงจรจะมีการกระตุ้นที่ S - A node แล้วส่งกระแสประสาทไปยัง A - V node ซึ่งอยู่ที่ฐานของผนังหัวใจห้องขวา แล้วส่งไปยังใยประสาทที่เรียกว่า A - V bundle หรือ Bundle of His แล้วแยกกิ่งไปยัง Ventricle ซ้ายและขวาทางเส้นใยที่เรียกว่า Purkinje fibers ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัว และในแต่ละวงจรจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางไฟฟ้าและทางกล เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ สามารถวัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้โดยใช้เครื่อง electrocardiograph แล้วแสดงออกมาเป็นกราฟที่เรียกว่า electrocardiogram ซึ่งเรียกกันย่อๆว่า EKG หรือ ECG ซึ่ง EKG หรือ ECG มีประโยชน์ในการแพทย์สำหรับตรวจการทำงานของหัวใจ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 282 คน กำลังออนไลน์