• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:af6e4a5ed8466c44e274518e2c458425' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u41068/soli.jpg\" width=\"500\" height=\"200\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333399\"><b><span style=\"color: #333399\">พิจารณาตัวอย่าง</span></b></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/2759001.gif\" width=\"320\" height=\"120\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/2759001.gif\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/2759001.gif\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/2759001.gif</a>\n</p>\n<p>\nกล่องทั้ง 3 รูป มีขนาดเท่ากันบรรจุของเหลวเต็มเหมือนกัน<br />\nแต่วางคนละแบบกล่องทั้ง 3 จะมีแรงดันของเหลวกดก้นภาชนะเท่ากัน<br />\nเพราะมีน้ำหนักเท่ากันกล่องใบที่ 3 จะมีความดันของเหลวกดก้นภาชนะมากที่สุด<br />\nเพราะมีพื้นที่ก้นภาชนะน้อยที่สุด\n</p>\n<p>\nการหาค่าความดันที่กดก้นภาชนะ อาจใช้สมการ\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"/files/u41068/619c4b2aa13ba7863bdfc70416fa0b59.png\" width=\"72\" height=\"19\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/619c4b2aa13ba7863bdfc70416fa0b59.png\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/619c4b2aa13ba7863bdfc70416fa0b59.png\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/619c4b2aa13ba7863bdfc70416fa0b5...</a><br />\nเมื่อ P = ความดัน (N/m2)<br />\nρ = ความหนาแน่นของของเหลว (kg/m3)<br />\ng = 10 m/s2<br />\nh = ความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงก้นภาชนะ (m)\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff0000\">โปรดสังเกตว่า</span> </span>สำหรับของเหลวชนิดหนึ่ง ๆความหนาแน่น (ρ) จะคงที่ และ g ก็คงที่ดังนั้น ความดัน (P) จึงแปรผันตรงกับความลึก (h) อย่างเดียว\n</p>\n<p>\nดังนั้นหากความลึกเท่ากัน ความดันย่อมเท่ากันอย่างแน่นอน\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333399\"><b><span style=\"color: #333399\">พิจารณาตัวอย่าง</span></b></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/clip_image049.jpg\" width=\"343\" height=\"111\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/clip_image049.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/clip_image049.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/clip_image049.jpg</a><br />\nภาชนะทั้ง 3 หากบรรจุของเหลวชนิดเดียวกันสูงเท่ากัน ความดันที่กดภาชนะทั้ง 3<br />\nใบจะเท่ากัน เพราะความดันจะขึ้นกับความลึก (h)<br />\nอย่างเดียวไม่เกี่ยวกับรูปร่างภาชนะ\n</p>\n<p>\nP(h) = Po+Pw\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u41068/eb748ff518165744c18adde7d04c4cd7.png\" width=\"143\" height=\"21\" />\n</p>\n<p>\ncredit: <a href=\"/files/u30435/eb748ff518165744c18adde7d04c4cd7.png\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u30435/eb748ff518165744c18adde7d04c4cd7.png\">http://www.thaigoodview.com/files/u30435/eb748ff518165744c18adde7d04c4cd...</a>\n</p>\n<p>\nPwเรียกว่า ความดันเกจ (หมายถึง ความดันที่เกิดจากน้ำหนักของของเหลว)<br />\nP0 เรียกว่า ความดันบรรยากาศ (หมายถึง ความดันที่เกิดจากน้ำหนักของอากาศภายนอกที่กดทับลงมา)\n</p>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/82146\">หน้าแรก</a> <a href=\"/node/89395\">1</a> <a href=\"/node/89443\">2</a> <a href=\"/node/87868\">เมนู </a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719395324, expire = 1719481724, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:af6e4a5ed8466c44e274518e2c458425' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความดัน และ แรงดัน ในของเหลว 2

พิจารณาตัวอย่าง

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/2759001.gif

กล่องทั้ง 3 รูป มีขนาดเท่ากันบรรจุของเหลวเต็มเหมือนกัน
แต่วางคนละแบบกล่องทั้ง 3 จะมีแรงดันของเหลวกดก้นภาชนะเท่ากัน
เพราะมีน้ำหนักเท่ากันกล่องใบที่ 3 จะมีความดันของเหลวกดก้นภาชนะมากที่สุด
เพราะมีพื้นที่ก้นภาชนะน้อยที่สุด

การหาค่าความดันที่กดก้นภาชนะ อาจใช้สมการ

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/619c4b2aa13ba7863bdfc70416fa0b5...
เมื่อ P = ความดัน (N/m2)
ρ = ความหนาแน่นของของเหลว (kg/m3)
g = 10 m/s2
h = ความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงก้นภาชนะ (m)

โปรดสังเกตว่า สำหรับของเหลวชนิดหนึ่ง ๆความหนาแน่น (ρ) จะคงที่ และ g ก็คงที่ดังนั้น ความดัน (P) จึงแปรผันตรงกับความลึก (h) อย่างเดียว

ดังนั้นหากความลึกเท่ากัน ความดันย่อมเท่ากันอย่างแน่นอน

พิจารณาตัวอย่าง

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/clip_image049.jpg
ภาชนะทั้ง 3 หากบรรจุของเหลวชนิดเดียวกันสูงเท่ากัน ความดันที่กดภาชนะทั้ง 3
ใบจะเท่ากัน เพราะความดันจะขึ้นกับความลึก (h)
อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับรูปร่างภาชนะ

P(h) = Po+Pw

credit: http://www.thaigoodview.com/files/u30435/eb748ff518165744c18adde7d04c4cd...

Pwเรียกว่า ความดันเกจ (หมายถึง ความดันที่เกิดจากน้ำหนักของของเหลว)
P0 เรียกว่า ความดันบรรยากาศ (หมายถึง ความดันที่เกิดจากน้ำหนักของอากาศภายนอกที่กดทับลงมา)

 

สร้างโดย: 
นางสาว สุชญา เจียรโภคกุล และ นางสาว ชนากานต์ นิลภารักษ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 512 คน กำลังออนไลน์