• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a6b7de0be9cb6dbb9e093f079ac2141' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>    <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'tahoma\',\'san-serif\'; color: #2b3220; font-size: 11pt\"> <strong> </strong><strong><span style=\"color: #993300\">   ๔. การแสดงออกทางศิลปะ<br />\n</span>    <span style=\"color: #c3886c\"> วัตถุประสงค์<br />\n</span></strong><span style=\"color: #c3886c\">   จัดให้มีการพัฒนาในเรื่องการรู้จักคุณค่าของศิลปะ โดยมีส่วนร่วมอย่างจริงจังในงานศิลปะประเภทต่างๆ ที่ลูกเสือสนใจเป็นพิเศษคำว่า “ศิลปะ” (The Arts) เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก และอาจกล่าวได้ว่าคลุมถึงกิจกรรมทางวัฒนธรรม (Cultural activity) แทบทุกอย่างศิลปะอาจแบ่งออกเป็น ๕ กลุ่ม คือ<br />\n   ๑. ศิลปะทางการแสดง เช่น ดนตรี, ละคร, การฟ้อนรำ, วิพิธทัศนา, หุ่นกระบอก, การแสดงกล,การพูดในที่สาธารณะ, การโต้วาที ฯ<br />\n   ๒. ทัศนศิลป (Visual Arts) เช่น การวาดภาพลายเส้น (Drawing), การวาดภาพระบายสี(Painting), การปั้นและการทำแบบจำลอง (Sculpture&amp;Modelling), การถ่ายภาพ, การออกแบบแฟชั่น(Fashion Design) ฯลฯ<br />\n   ๓. การช่าง (Crafts) เช่น การพิมพ์ภาพด้วยวิธีสกรีน (Screen Printing), เครื่องปั้นดินเผา, การลงยา, การทำเครื่องเขิน, การทำเครื่องถม, การแกะสลักไม้, การช่างหนัง, การทอ, การช่างโลหะ, การจักสาน,การเข้าเล่มหนังสือ ฯลฯ<br />\n   ๔. ศิลปะทางอักษรศาสตร์ (Literary Arts) เช่น นวนิยาย, บทร้อยกรอง, การหนังสือพิมพ์,ชีวประวัติ, ความเรียง ฯลฯ<br />\n   ๕. ศิลปะการวิจารณ์ (Criticism) เช่น ดนตรี, ละคร, ภาพยนตร์, โทรทัศน์, นิทรรศการศิลปะ,สถาปัตยกรรม ฯลฯ<br />\n</span><span style=\"color: #c3886c\"><strong>     มาตรฐานเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ<br />\n</strong>   แสดงความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานทางศิลปะ โดยกระทำเรื่องหนึ่งเรื่องใดต่อไปนี้ให้เป็นผลสำเร็จ<br />\n   ๑. เสนอผลงาน ๓ ชิ้น ซึ่งแสดงความก้าวหน้า (อาจเป็นการวาดภาพระบายสี, การปั้น, งานเขียน,การถ่ายภาพ ฯลฯ)<br />\n   ๒. แสดงหรือมีส่วนในการแสดงทางศิลปะ ภายในของลูกเสือหรือชั้นเรียน ๓ ครั้ง (อาจเป็นดนตรี,ละคร, การพูดในที่ประชุม ฯลฯ)<br />\n   ๓. ไปดูการแสดงหรือนิทรรศการอย่างน้อย ๓ ครั้ง หรืออ่านหนังสือในทางศิลปะอย่างน้อย ๓ เล่มตามคำแนะนำของกรรมการสอบ และต่อมากรรมการสอบผู้ได้ทำการสัมภาษณ์เห็นว่ามีความรู้ในทางศิลปะกว้างขวางยิ่งขึ้นพอสมควร<br />\n</span><strong><span style=\"color: #993300\">   หมายเหตุ</span></strong> <span style=\"color: #c3886c\">ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ที่มีความสามารถในทางศิลปะอยู่เดิม ควรพยายามผ่านการทดสอบตามข้อ ๑ หรือข้อ ๒<br />\n<strong>     มาตรฐานเครื่องหมายลูกเสือหลวง  </strong>แสดงงานศิลปะในที่สาธารณะและแสดงได้ดีพอสมควร<br />\n</span></span></p>\n', created = 1719376377, expire = 1719462777, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a6b7de0be9cb6dbb9e093f079ac2141' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิชาพื้นฐานระดับเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ

         ๔. การแสดงออกทางศิลปะ
     วัตถุประสงค์
   จัดให้มีการพัฒนาในเรื่องการรู้จักคุณค่าของศิลปะ โดยมีส่วนร่วมอย่างจริงจังในงานศิลปะประเภทต่างๆ ที่ลูกเสือสนใจเป็นพิเศษคำว่า “ศิลปะ” (The Arts) เป็นคำที่มีความหมายกว้างมาก และอาจกล่าวได้ว่าคลุมถึงกิจกรรมทางวัฒนธรรม (Cultural activity) แทบทุกอย่างศิลปะอาจแบ่งออกเป็น ๕ กลุ่ม คือ
   ๑. ศิลปะทางการแสดง เช่น ดนตรี, ละคร, การฟ้อนรำ, วิพิธทัศนา, หุ่นกระบอก, การแสดงกล,การพูดในที่สาธารณะ, การโต้วาที ฯ
   ๒. ทัศนศิลป (Visual Arts) เช่น การวาดภาพลายเส้น (Drawing), การวาดภาพระบายสี(Painting), การปั้นและการทำแบบจำลอง (Sculpture&Modelling), การถ่ายภาพ, การออกแบบแฟชั่น(Fashion Design) ฯลฯ
   ๓. การช่าง (Crafts) เช่น การพิมพ์ภาพด้วยวิธีสกรีน (Screen Printing), เครื่องปั้นดินเผา, การลงยา, การทำเครื่องเขิน, การทำเครื่องถม, การแกะสลักไม้, การช่างหนัง, การทอ, การช่างโลหะ, การจักสาน,การเข้าเล่มหนังสือ ฯลฯ
   ๔. ศิลปะทางอักษรศาสตร์ (Literary Arts) เช่น นวนิยาย, บทร้อยกรอง, การหนังสือพิมพ์,ชีวประวัติ, ความเรียง ฯลฯ
   ๕. ศิลปะการวิจารณ์ (Criticism) เช่น ดนตรี, ละคร, ภาพยนตร์, โทรทัศน์, นิทรรศการศิลปะ,สถาปัตยกรรม ฯลฯ
     มาตรฐานเครื่องหมายลูกเสือชั้นพิเศษ
   แสดงความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานทางศิลปะ โดยกระทำเรื่องหนึ่งเรื่องใดต่อไปนี้ให้เป็นผลสำเร็จ
   ๑. เสนอผลงาน ๓ ชิ้น ซึ่งแสดงความก้าวหน้า (อาจเป็นการวาดภาพระบายสี, การปั้น, งานเขียน,การถ่ายภาพ ฯลฯ)
   ๒. แสดงหรือมีส่วนในการแสดงทางศิลปะ ภายในของลูกเสือหรือชั้นเรียน ๓ ครั้ง (อาจเป็นดนตรี,ละคร, การพูดในที่ประชุม ฯลฯ)
   ๓. ไปดูการแสดงหรือนิทรรศการอย่างน้อย ๓ ครั้ง หรืออ่านหนังสือในทางศิลปะอย่างน้อย ๓ เล่มตามคำแนะนำของกรรมการสอบ และต่อมากรรมการสอบผู้ได้ทำการสัมภาษณ์เห็นว่ามีความรู้ในทางศิลปะกว้างขวางยิ่งขึ้นพอสมควร
   หมายเหตุ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ที่มีความสามารถในทางศิลปะอยู่เดิม ควรพยายามผ่านการทดสอบตามข้อ ๑ หรือข้อ ๒
     มาตรฐานเครื่องหมายลูกเสือหลวง  แสดงงานศิลปะในที่สาธารณะและแสดงได้ดีพอสมควร

สร้างโดย: 
นางสาวกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวอัมพิรา รักสัตย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 549 คน กำลังออนไลน์