• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:83069fd14f384fe74644975fba543f6c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><a href=\"/node/89159\" title=\"HOME\"><img height=\"279\" width=\"600\" src=\"/files/u30458/bg2_1.gif\" border=\"0\" /></a> </span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></b></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><strong></strong><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><strong>สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ</strong> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><strong></strong></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"599\" width=\"430\" src=\"/files/u30458/430px-Hirohito_in_dress_uniform.jpg\" border=\"0\" /></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\"><a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/4/44/Hirohito_in_dress_uniform.jpg/246px-Hirohito_in_dress_uniform.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/<span lang=\"TH\">4/44/</span>Hirohito_in_dress_uniform.jpg/<span lang=\"TH\">246</span>px-Hirohito_in_dress_uniform.jpg</a><o:p></o:p></span>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></b></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\">สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"> </span><span style=\"font-size: 9pt\"><span lang=\"TH\">พระนามเดิม <b>ฮิโระฮิโตะ</b> </span></span><span style=\"font-size: 9pt\"><span lang=\"TH\">ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี <span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2469</span> - <span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2532</span> รวมแล้วถึง 63 ปี</span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 9pt\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตทรงมีบทบาทที่สำคัญในช่วง</span><span style=\"color: windowtext\">สงครามโลกครั้งที่สอง</span><span style=\"color: #000000\"> โดยเป็นผู้นำญี่ปุ่นเข้าร่วม</span><span style=\"color: windowtext\">ฝ่ายอักษะ</span><span style=\"color: #000000\">ร่วมกับ</span><span style=\"color: windowtext\">นาซีเยอรมัน</span><span style=\"color: #000000\">และ</span><span style=\"color: windowtext\">ฟาสซิสต์</span><span style=\"color: #000000\">ของ</span><span style=\"color: windowtext\">อิตาลี</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะเสด็จพระราชสมภพ ณ ปราสาทอาโอยามะ </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">กรุง</span><span style=\"color: windowtext\">โตเกียว</span><span style=\"color: #000000\"> เมื่อวันที่ </span><span style=\"color: windowtext\">29 เมษายน</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2444</span><span style=\"color: #000000\"> ทรงเป็นพระราชโอรสใน</span><span style=\"color: windowtext\">สมเด็จพระจักรพรรดิไทโช</span><span style=\"color: #000000\"> และ</span><span style=\"color: windowtext\">เจ้าหญิงซาดาโกะ</span><span style=\"color: #000000\"> โดยมีพระนามในวัยเด็ก ว่า <b>เจ้าชายมิจิ</b> (</span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'MS UI Gothic\'; font-size: 9pt\">迪宮</span><span style=\"font-size: 9pt\">)<span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: 9pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"font-size: 9pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"><strong>หลัง</strong></span><span style=\"color: windowtext\"><strong>สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง</strong></span><span style=\"color: #000000\"><strong> สิ้นสุดลง</strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ญี่ปุ่นกระทำการหลายอย่างที่แสดงถึงความเปิดกว้างและเป็นมิตร โดยเข้าร่วมแนวคิดสากลนิยมที่ประกาศไว้ในหลักการของ</span><span style=\"color: windowtext\">องค์การสันนิบาตชาติ</span><span style=\"color: #000000\"> นอกจากนี้ในการประชุมร่วมที่</span><span style=\"color: windowtext\">กรุงวอชิงตัน</span><span style=\"color: #000000\"> ญี่ปุ่นยังเห็นชอบที่จะสลายความเป็นพันธมิตรระหว่างอังกฤษกับญี่ปุ่น เพื่อแลกกับการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยร่วมกับมหาอำนาจตะวันตก ซึ่งระบุให้จำกัดจำนวนยุทโธปกรณ์ทางน้ำ และยอมรับสิทธิและอำนาจเต็มของจีนเหนือดินแดนจีนเองด้วย </span><span style=\"color: windowtext\">ค.ศ. 1925</span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: windowtext\"></span><span style=\"color: #000000\">ญี่ปุ่นยังขยายความสัมพันธ์ทางการทูตไปถึง</span><span style=\"color: windowtext\">สหภาพโซเวียต</span><span style=\"color: #000000\"> แม้กลุ่มโคมินเทิรน์จะคอยสนับสนุนความเคลื่อนไหวของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียนอยู่ก็ตาม แต่ในอีกด้านหนึ่งความสัมพันธ์ของสหรัฐอเมริกากับญี่ปุ่นกลับเลวลง เมื่อมีกฎหมายห้ามชาวญี่ปุ่นเข้าสหรัฐอเมริกา สร้างความโกรธแค้นให้แก่ชาวญี่ปุ่นอย่างยิ่ง เพราะไปประจวบกับเวลาที่ญี่ปุ่เพิ่งถูกองค์กรสันนิบาตชาติปฏิเสธที่จะรับรองข้อเสนอของญี่ปุ่นว่ามนุษย์ทุกเผ่าพันธ์เท่าเทียมกัน เข้าไว้ในพันธะสัญญาขององค์กร แม้กระนั้น ก็แทบจะไม่มีสัญญาณใดๆในช่วงทศวรรษ 1920 ถึงวิกฤตความสัมพันธ์ในอนาคตระหว่างญี่ปุ่นกับ สหรัฐอเมริกาเลย</span></span><span style=\"font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"> </span></b></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\">นโยบายเปิดเสรีการค้าของญี่ปุ่นที่ใช้ความร่วมมือทางการทูต โดยสันติเป็นสื่อก็ตรงกับนโยบายเปิดประตูความสัมพันธ์และการค้า ซึ่งริเริ่มโดยวุฒิสมาชิก จอห์น เฮย์ ในช่วงต้นศตวรรษด้วยซ้ำ ด้วยความไว้วางใจในข้อตกลงที่ทำไว้กับนานาประเทศว่าจะเป็นหนทางเสริมสร้างสันติภาพและความมั่นคงในประเทศและ</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">แต่ในไม่ช้าสถานการณ์ในประเทศจีนทำลายภาพฝันที่จะมีความสงบสุขอย่างถาวรในประเทศจีนจนสิ้น เริ่มตั้งแต่ความสำเร็จของ แผนยึดแดนเหนือ ของ</span><span style=\"color: windowtext\">เจียงไคเช็ก</span><span style=\"color: #000000\"> ในปี</span><span style=\"color: windowtext\">ค.ศ. 1926</span><span style=\"color: #000000\"> เพื่อรวมชาติจีนให้อยู่ภายใต้การปกครองของพรรคชาตินิยม หรือ </span><span style=\"color: windowtext\">กว๋อหมินตั่ง</span><span style=\"color: #000000\"> หรือที่คนไทยรู้จักกันในนาม </span><span style=\"color: windowtext\">ก๊กมินตั๋ง</span><span style=\"color: #000000\"> ที่สร้างความตระหนกแก่นายทหารญี่ปุ่นประจำกองทัพกวานตง ที่ปักหลักอยู่แถบ</span><span style=\"color: windowtext\">แมนจูเรีย</span><span style=\"color: #000000\">ใต้ เพราะพวกเขาไม่ไว้ใจ จางจว้อหลิน ผู้นำกองทัพที่เป็นลูกค้าของญี่ปุ่นอยู่ทางตอนเหนือของจีน คิดไปว่าจางจว้อหลินอาจช่วยหยุดยั้ง เจียงไคเช็ก และปกป้องสิทธิประโยชน์ของญี่ปุ่นเหนือดินแดนแมนจูเรียไม่ให้ถูกองกำลังของเจียงไคเช็กคุกคามไม่ได้ </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ดังนั้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1928 ทหารญี่ปุ่นเหล่านี้จึงลอบสังหารจางจว้อหลิน ด้วยการระเบิดรถไฟที่เขาโดยสารมาขณะกำลังมุ่งสู่เมืองมุกเด็น (ปัจจุบันคือเมือง </span><span style=\"color: windowtext\">เสิ่นหยาง</span><span style=\"color: #000000\">) และโยนความผิดให้กองโจรชาวจีน ว่าเป็นผู้ลงมือ<o:p></o:p></span></span> </p>\n<h2 style=\"margin: auto 0cm\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></span></span></span></strong></h2>\n<h2 style=\"margin: auto 0cm\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\">สงครามโลกครั้งที่ 2</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span></span></span></strong></h2>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">เมื่อ</span><span style=\"color: windowtext\">ญี่ปุ่น</span><span style=\"color: #000000\">เข้าสู่สงคราม สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะย่อมมีพระราชประสงค์ที่จะให้ญี่ปุ่นได้ชัยชนะ พระองค์จึงพอพระทัยเป็นอันมากที่ปฏิบัติการโจมตี</span><span style=\"color: windowtext\">เพิร์ล ฮาร์เบอร์</span><span style=\"color: #000000\"> สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่กองกำลัง</span><span style=\"color: windowtext\">สหรัฐอเมริกา</span><span style=\"color: #000000\">ประจำภาคพื้นแปซิฟิก<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ต้นเดือนมีนาคม </span><span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2485</span><span style=\"color: #000000\"> ทรงพอพระทัยไม่น้อยไปกว่ากันกับชัยชนะปานสายฟ้าแลบของญี่ปุ่นเหนือ</span><span style=\"color: windowtext\">เกาะฮ่องกง</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: windowtext\">กรุงมะนิลา</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: windowtext\">สิงคโปร์</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: windowtext\">ปัตตาเวีย</span><span style=\"color: #000000\"> (จาร์กาตา) และ</span><span style=\"color: windowtext\">ย่างกุ้ง</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ขณะเดียวกัน ก็ทรงกังวลเกี่ยวกับปัญหาในการลำเลียงเสบียงและ</span><span style=\"color: windowtext\">เชื้อเพลิง</span><span style=\"color: #000000\">ไปให้กับกองกำลังญี่ปุ่นที่กำลังรบอยู่ในสมรภูมิที่ห่างไกลมาตุภูมิ </span></span></p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">&quot;ชัยชนะที่ได้ออกจะมาเร็วไปหน่อย&quot; พระองค์จึงมักจะทรงเตือนผู้นำทหารบกและทหารเรือให้ปรับปรุงการทำงานระหว่างสองกองทัพให้ประสานงานได้ดีขึ้น เพราะสภาพที่เป็นอยู่นั้นจัดว่าไร้ประสิทธิภาพโดยสิ้นเชิง และยังทรงเตือนให้สองกองทัพ เลิกใช้วิธีเหมือนเล่นการเมืองพาทะเลาะกันเรื่องการเคลื่อนย้ายฝูงบินเสียที </span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">เมื่อทรงได้รับรายงานเกี่ยวกับความปราชัยครั้งสำคัญของญี่ปุ่นเช่นที่ </span><span style=\"color: windowtext\">ยุทธภูมิมิดเวย์</span><span style=\"color: #000000\"> จึงมีแต่พระราชดำรัสให้ผู้นำทหารทั้งหลายทำงานของตนให้ดีที่สุดในการปฏิบัติครั้งหน้า โดยแทบจะมิได้ทรงแสดงอารมณ์ใดๆออกมาอีก ราวกับทรงปลงเสียแล้ว<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติในระหว่างสงครามกระตุ้นให้ประชาชนฮึกเหิมกับศึกที่เกิดขึ้นด้วยอีกแรงหนึ่งไม่ว่าจะเป็นการทรงม้าขาวออกเสด็จตรวจกำลังพล หรือมีพระราชดำรัสเปิดการประชุมรัฐสภาที่ปลุกเร้ากำลังใจของราษฎรให้ช่วยกันพยายามเพื่อชัยชนะของประเทศตามหนังสือที่ร่างโดยรัฐบาล </span></span></p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">พระราชกรณียกิจเหล่านี้ล้วนสร้างภาพว่า พระองค์กำลังทรงบัญชาการความเคลื่อนไหวทั้งหมดของกองทัพในฐานะที่ทรงเป็นจอมทัพของชาติ แต่ขณะที่พระองค์ทรงอ่านรายงานการรบและลงพระนามรับรองแผนปฏิบัติการทางทหารต่างๆอยู่อย่างขะมักเขม้นทุกวี่ทุกวันนั้น สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมิได้ทรงมีส่วนในการบังคับบัญชาใดๆ เฉกเช่นที่</span><span style=\"color: windowtext\">สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ</span><span style=\"color: #000000\">ไม่เคยได้ทรงกระทำหน้าที่นี้ทุกครั้งที่มีสงครามขึ้นเลย<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">หากมองจากภายนอก ประชาชนอาจคิดว่าพระจักรพรรดิของพวกเขาเป็นกษัตริย์นักรบ แต่แท้จริงแล้วพระองค์มีพระราชประสงค์ให้สงครามยุติลงโดยเร็วต่างหาก</span></span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะได้มีพระราชดำรัสให้พลเอกโตโจรับทราบข้อเท็จจริงข้อนี้ &quot;เราหวังตลอดเวลาที่ผ่านมานี้ ท่านจะได้ใช้ความพยายามอย่างที่สุดและใช้ทุกโอกาสที่มีเพื่อยุติการประหัตประหารกันนี้ในทันทีที่ทำได้ หากคิดถึงความสงบสุขของมนุษย์ด้วยกันแล้วการปล่อยสงครามยืดเยื้อต่อไปรังแต่จะเปล่าประโยชน์&quot;</span></span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ทรงเสริมด้วยว่า &quot;เราเกรงว่า ประสิทธิภาพของทหารเราจะอ่อนด้อยลงไปหากสงครามต้องยืดเยื้อ&quot; แต่โดยหน้าที่แล้ว โตโจจำเป็นต้องทำสงครามต่อไป และแม้กระแสการรบจะพัดย้อนไปกระหน่ำญี่ปุ่นแทน สงครามก็ยังไม่อาจยุติลงได้ ดูเหมือนว่าสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะกลับเป็นผู้ต่อเวลาทำสงครามออกไปเสียเองถึง 2 ทางด้วยกัน</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"> ประการแรก แม้ในช่วงแรกๆจะมีขบวนการสันติภาพที่ก่อตั้งขึ้นโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ข้าราชสำนัก และแม้กระทั่งเชื้อพระวงศ์บางองค์</span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">แต่สมเด็จพระจักรพรรดิก็ไม่ทรงยอดปลดโตโจออกตามคำเรียกร้องของสมาชิกขบวนการที่ต้องการจะหยุดยั้งสงครามไว้ให้ได้ เพราะในระหว่างยังไงเสียญี่ปุ่นก็ต้องอาศัยโตโจดำเนินการรบไปจนกว่าสถานะของญี่ปุ่นในการเจรจาสันติภาพจะดีขึ้น และบรรลุเงื่อนไขตามที่ญี่ปุ่นต่อรอง โดยพระองค์ทรงตรัสกับ </span><span style=\"color: windowtext\">เจ้าชายทาคาทัตสึ</span><span style=\"color: #000000\"> พระอนุชาองค์รองว่า<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">&quot;ใครๆก็ว่าโตโจไม่ดี แต่จะหาใครดีไปกว่านี้ได้อีกไหมในเมื่อไม่มีคนเหมาะสมกว่า ยังจะมีทางเลือกอื่น นอกจากร่วมงานกับคณะของโตโจหรือ&quot;<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">อิโนอุเอะ คิโยชิ นักประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นเขียนไว้ว่า<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">&quot;บุคคลที่ชื่อ ฮิโรฮิโตนั้น คือสุภาพบุรุษที่เปี่ยมไปด้วยความเห็นอกเห็นใจและกล้าหาญในสายตาของสมาชิกในครอบครัวและบรรดาที่ปรึกษาใกล้ชิดทั้งหลาย แต่สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโต กลับขึ้นปกครองบ้านเมืองในสมัยที่ระบอบเผด็จการอันแข็งกร้าว และชูลัทธินิยมจักรพรรดิ รุ่งเรืองถึงขีดสุด ทั้งยังทรงดำรงอยู่ในฐานะผู้นำที่ก่อสงครามร้ายแรงหลายต่อหลายครั้ง ชี้นำการปกครองประเทศภายใต้ระบบที่กดขี่พลเมืองของตนเอง&quot;</span></span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">ในหนังสือพิมพ์</span><span style=\"color: windowtext\">นิวยอร์กไทม์</span><span style=\"color: #000000\"> ได้รายงานคำประกาศของ</span><span style=\"color: windowtext\">พรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่น</span><span style=\"color: #000000\">เขียนขึ้นในวันที่ </span><span style=\"color: windowtext\">8 มกราคม</span><span style=\"color: #000000\"> </span><span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2532</span><span style=\"color: #000000\"> หนึ่งวันหลังจากสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคตว่า<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">&quot;พวกเราจำต้องแสดงความรู้สึกในนามของเหยื่อสงครามอันเหี้ยมโหดและเหยื่อกฏเมืองที่โหดร้ายจำนวนหลายสิบล้านชีวิตผู้ไม่มีโอกาสจะเอ่ยคำใดได้อีกแล้ว สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะคือผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อสงครามเลวร้ายที่เกิดขึ้นมากที่สุด และหนักหน่วงที่สุด&quot;<o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">เมื่อพิจารณาจากมุมมองนี้ การที่นายพล</span><span style=\"color: windowtext\">ดักลาส แมคอาเธอร์</span><span style=\"color: #000000\"> ลดหย่อนโทษให้แก่สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ ไม่นำพระองค์ไปขึ้น</span><span style=\"color: windowtext\">ศาลโลก</span><span style=\"color: #000000\">ในฐานะอาชญากรสงครามหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลงนั้น ก็อาจจะเกิดมาจากคำตรัสคำนี้ก็เป็นได้</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"><span style=\"color: #000000\">และครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิได้เสด็จไปพบปะกับนายพลแมคอาเธอร์หลังสงครามโลกนั้น ตามคำที่นายพลได้เขียนไว้ พระจักรพรรดิได้ตรัสกับเขาว่า<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\">&quot;ข้าพเจ้าจะเป็นอย่างไรก็ไม่ว่า โทษนั้นข้าพเจ้าจะรับเอง แต่อยากให้ช่วยประชาชนแทน&quot;</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"> เมื่อนายพลแมคอาเธอร์ได้ฟัง เขาก็ได้ซาบซึ้งใจอย่างมาก แต่เนื่องจากการสนทนานี้ไม่ค่อยมีใครรู้กันมากนัก จึงไม่ทราบว่าเป็นจริงหรือไม่ </span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 9pt\">ครั้นมีการสัมภาษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิเมื่อปี <span style=\"color: windowtext\">พ.ศ. 2518</span> พระองค์ก็ทรงตรัสว่า &quot;ไม่สามารถที่จะเปิดเผยได้ เพราะเป็นคำสัญญาของลูกผู้ชาย&quot;<o:p></o:p></span></span> </p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89167\"><img height=\"100\" width=\"100\" src=\"/files/u30458/ii.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715976077, expire = 1716062477, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:83069fd14f384fe74644975fba543f6c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ

สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ

สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระนามเดิม ฮิโระฮิโตะ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 รวมแล้วถึง 63 ปี

สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโตทรงมีบทบาทที่สำคัญในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเป็นผู้นำญี่ปุ่นเข้าร่วมฝ่ายอักษะร่วมกับนาซีเยอรมันและฟาสซิสต์ของอิตาลีสมเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะเสด็จพระราชสมภพ ณ ปราสาทอาโอยามะ กรุงโตเกียว เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2444 ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเจ้าหญิงซาดาโกะ โดยมีพระนามในวัยเด็ก ว่า เจ้าชายมิจิ (迪宮)

 

 

หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สิ้นสุดลง

ญี่ปุ่นกระทำการหลายอย่างที่แสดงถึงความเปิดกว้างและเป็นมิตร โดยเข้าร่วมแนวคิดสากลนิยมที่ประกาศไว้ในหลักการขององค์การสันนิบาตชาติ นอกจากนี้ในการประชุมร่วมที่กรุงวอชิงตัน ญี่ปุ่นยังเห็นชอบที่จะสลายความเป็นพันธมิตรระหว่างอังกฤษกับญี่ปุ่น เพื่อแลกกับการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยร่วมกับมหาอำนาจตะวันตก ซึ่งระบุให้จำกัดจำนวนยุทโธปกรณ์ทางน้ำ และยอมรับสิทธิและอำนาจเต็มของจีนเหนือดินแดนจีนเองด้วย ค.ศ. 1925

ญี่ปุ่นยังขยายความสัมพันธ์ทางการทูตไปถึงสหภาพโซเวียต แม้กลุ่มโคมินเทิรน์จะคอยสนับสนุนความเคลื่อนไหวของฝ่ายคอมมิวนิสต์ในภูมิภาคเอเชียนอยู่ก็ตาม แต่ในอีกด้านหนึ่งความสัมพันธ์ของสหรัฐอเมริกากับญี่ปุ่นกลับเลวลง เมื่อมีกฎหมายห้ามชาวญี่ปุ่นเข้าสหรัฐอเมริกา สร้างความโกรธแค้นให้แก่ชาวญี่ปุ่นอย่างยิ่ง เพราะไปประจวบกับเวลาที่ญี่ปุ่เพิ่งถูกองค์กรสันนิบาตชาติปฏิเสธที่จะรับรองข้อเสนอของญี่ปุ่นว่ามนุษย์ทุกเผ่าพันธ์เท่าเทียมกัน เข้าไว้ในพันธะสัญญาขององค์กร แม้กระนั้น ก็แทบจะไม่มีสัญญาณใดๆในช่วงทศวรรษ 1920 ถึงวิกฤตความสัมพันธ์ในอนาคตระหว่างญี่ปุ่นกับ สหรัฐอเมริกาเลย

นโยบายเปิดเสรีการค้าของญี่ปุ่นที่ใช้ความร่วมมือทางการทูต โดยสันติเป็นสื่อก็ตรงกับนโยบายเปิดประตูความสัมพันธ์และการค้า ซึ่งริเริ่มโดยวุฒิสมาชิก จอห์น เฮย์ ในช่วงต้นศตวรรษด้วยซ้ำ ด้วยความไว้วางใจในข้อตกลงที่ทำไว้กับนานาประเทศว่าจะเป็นหนทางเสริมสร้างสันติภาพและความมั่นคงในประเทศและ

แต่ในไม่ช้าสถานการณ์ในประเทศจีนทำลายภาพฝันที่จะมีความสงบสุขอย่างถาวรในประเทศจีนจนสิ้น เริ่มตั้งแต่ความสำเร็จของ แผนยึดแดนเหนือ ของเจียงไคเช็ก ในปีค.ศ. 1926 เพื่อรวมชาติจีนให้อยู่ภายใต้การปกครองของพรรคชาตินิยม หรือ กว๋อหมินตั่ง หรือที่คนไทยรู้จักกันในนาม ก๊กมินตั๋ง ที่สร้างความตระหนกแก่นายทหารญี่ปุ่นประจำกองทัพกวานตง ที่ปักหลักอยู่แถบแมนจูเรียใต้ เพราะพวกเขาไม่ไว้ใจ จางจว้อหลิน ผู้นำกองทัพที่เป็นลูกค้าของญี่ปุ่นอยู่ทางตอนเหนือของจีน คิดไปว่าจางจว้อหลินอาจช่วยหยุดยั้ง เจียงไคเช็ก และปกป้องสิทธิประโยชน์ของญี่ปุ่นเหนือดินแดนแมนจูเรียไม่ให้ถูกองกำลังของเจียงไคเช็กคุกคามไม่ได้ ดังนั้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1928 ทหารญี่ปุ่นเหล่านี้จึงลอบสังหารจางจว้อหลิน ด้วยการระเบิดรถไฟที่เขาโดยสารมาขณะกำลังมุ่งสู่เมืองมุกเด็น (ปัจจุบันคือเมือง เสิ่นหยาง) และโยนความผิดให้กองโจรชาวจีน ว่าเป็นผู้ลงมือ

สงครามโลกครั้งที่ 2

เมื่อญี่ปุ่นเข้าสู่สงคราม สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะย่อมมีพระราชประสงค์ที่จะให้ญี่ปุ่นได้ชัยชนะ พระองค์จึงพอพระทัยเป็นอันมากที่ปฏิบัติการโจมตีเพิร์ล ฮาร์เบอร์ สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่กองกำลังสหรัฐอเมริกาประจำภาคพื้นแปซิฟิกต้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2485 ทรงพอพระทัยไม่น้อยไปกว่ากันกับชัยชนะปานสายฟ้าแลบของญี่ปุ่นเหนือเกาะฮ่องกง กรุงมะนิลา สิงคโปร์ ปัตตาเวีย (จาร์กาตา) และย่างกุ้งขณะเดียวกัน ก็ทรงกังวลเกี่ยวกับปัญหาในการลำเลียงเสบียงและเชื้อเพลิงไปให้กับกองกำลังญี่ปุ่นที่กำลังรบอยู่ในสมรภูมิที่ห่างไกลมาตุภูมิ

"ชัยชนะที่ได้ออกจะมาเร็วไปหน่อย" พระองค์จึงมักจะทรงเตือนผู้นำทหารบกและทหารเรือให้ปรับปรุงการทำงานระหว่างสองกองทัพให้ประสานงานได้ดีขึ้น เพราะสภาพที่เป็นอยู่นั้นจัดว่าไร้ประสิทธิภาพโดยสิ้นเชิง และยังทรงเตือนให้สองกองทัพ เลิกใช้วิธีเหมือนเล่นการเมืองพาทะเลาะกันเรื่องการเคลื่อนย้ายฝูงบินเสียที

เมื่อทรงได้รับรายงานเกี่ยวกับความปราชัยครั้งสำคัญของญี่ปุ่นเช่นที่ ยุทธภูมิมิดเวย์ จึงมีแต่พระราชดำรัสให้ผู้นำทหารทั้งหลายทำงานของตนให้ดีที่สุดในการปฏิบัติครั้งหน้า โดยแทบจะมิได้ทรงแสดงอารมณ์ใดๆออกมาอีก ราวกับทรงปลงเสียแล้วพระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติในระหว่างสงครามกระตุ้นให้ประชาชนฮึกเหิมกับศึกที่เกิดขึ้นด้วยอีกแรงหนึ่งไม่ว่าจะเป็นการทรงม้าขาวออกเสด็จตรวจกำลังพล หรือมีพระราชดำรัสเปิดการประชุมรัฐสภาที่ปลุกเร้ากำลังใจของราษฎรให้ช่วยกันพยายามเพื่อชัยชนะของประเทศตามหนังสือที่ร่างโดยรัฐบาล

พระราชกรณียกิจเหล่านี้ล้วนสร้างภาพว่า พระองค์กำลังทรงบัญชาการความเคลื่อนไหวทั้งหมดของกองทัพในฐานะที่ทรงเป็นจอมทัพของชาติ แต่ขณะที่พระองค์ทรงอ่านรายงานการรบและลงพระนามรับรองแผนปฏิบัติการทางทหารต่างๆอยู่อย่างขะมักเขม้นทุกวี่ทุกวันนั้น สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะมิได้ทรงมีส่วนในการบังคับบัญชาใดๆ เฉกเช่นที่สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิไม่เคยได้ทรงกระทำหน้าที่นี้ทุกครั้งที่มีสงครามขึ้นเลยหากมองจากภายนอก ประชาชนอาจคิดว่าพระจักรพรรดิของพวกเขาเป็นกษัตริย์นักรบ แต่แท้จริงแล้วพระองค์มีพระราชประสงค์ให้สงครามยุติลงโดยเร็วต่างหาก

เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942 สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะได้มีพระราชดำรัสให้พลเอกโตโจรับทราบข้อเท็จจริงข้อนี้ "เราหวังตลอดเวลาที่ผ่านมานี้ ท่านจะได้ใช้ความพยายามอย่างที่สุดและใช้ทุกโอกาสที่มีเพื่อยุติการประหัตประหารกันนี้ในทันทีที่ทำได้ หากคิดถึงความสงบสุขของมนุษย์ด้วยกันแล้วการปล่อยสงครามยืดเยื้อต่อไปรังแต่จะเปล่าประโยชน์"

ทรงเสริมด้วยว่า "เราเกรงว่า ประสิทธิภาพของทหารเราจะอ่อนด้อยลงไปหากสงครามต้องยืดเยื้อ" แต่โดยหน้าที่แล้ว โตโจจำเป็นต้องทำสงครามต่อไป และแม้กระแสการรบจะพัดย้อนไปกระหน่ำญี่ปุ่นแทน สงครามก็ยังไม่อาจยุติลงได้ ดูเหมือนว่าสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะกลับเป็นผู้ต่อเวลาทำสงครามออกไปเสียเองถึง 2 ทางด้วยกัน ประการแรก แม้ในช่วงแรกๆจะมีขบวนการสันติภาพที่ก่อตั้งขึ้นโดยอดีตนายกรัฐมนตรี ข้าราชสำนัก และแม้กระทั่งเชื้อพระวงศ์บางองค์

แต่สมเด็จพระจักรพรรดิก็ไม่ทรงยอดปลดโตโจออกตามคำเรียกร้องของสมาชิกขบวนการที่ต้องการจะหยุดยั้งสงครามไว้ให้ได้ เพราะในระหว่างยังไงเสียญี่ปุ่นก็ต้องอาศัยโตโจดำเนินการรบไปจนกว่าสถานะของญี่ปุ่นในการเจรจาสันติภาพจะดีขึ้น และบรรลุเงื่อนไขตามที่ญี่ปุ่นต่อรอง โดยพระองค์ทรงตรัสกับ เจ้าชายทาคาทัตสึ พระอนุชาองค์รองว่า"ใครๆก็ว่าโตโจไม่ดี แต่จะหาใครดีไปกว่านี้ได้อีกไหมในเมื่อไม่มีคนเหมาะสมกว่า ยังจะมีทางเลือกอื่น นอกจากร่วมงานกับคณะของโตโจหรือ"อิโนอุเอะ คิโยชิ นักประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นเขียนไว้ว่า"บุคคลที่ชื่อ ฮิโรฮิโตนั้น คือสุภาพบุรุษที่เปี่ยมไปด้วยความเห็นอกเห็นใจและกล้าหาญในสายตาของสมาชิกในครอบครัวและบรรดาที่ปรึกษาใกล้ชิดทั้งหลาย แต่สมเด็จพระจักรพรรดิฮิโรฮิโต กลับขึ้นปกครองบ้านเมืองในสมัยที่ระบอบเผด็จการอันแข็งกร้าว และชูลัทธินิยมจักรพรรดิ รุ่งเรืองถึงขีดสุด ทั้งยังทรงดำรงอยู่ในฐานะผู้นำที่ก่อสงครามร้ายแรงหลายต่อหลายครั้ง ชี้นำการปกครองประเทศภายใต้ระบบที่กดขี่พลเมืองของตนเอง"

ในหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทม์ ได้รายงานคำประกาศของพรรคคอมมิวนิสต์ญี่ปุ่นเขียนขึ้นในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2532 หนึ่งวันหลังจากสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะสวรรคตว่า"พวกเราจำต้องแสดงความรู้สึกในนามของเหยื่อสงครามอันเหี้ยมโหดและเหยื่อกฏเมืองที่โหดร้ายจำนวนหลายสิบล้านชีวิตผู้ไม่มีโอกาสจะเอ่ยคำใดได้อีกแล้ว สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะคือผู้ที่ต้องรับผิดชอบต่อสงครามเลวร้ายที่เกิดขึ้นมากที่สุด และหนักหน่วงที่สุด"เมื่อพิจารณาจากมุมมองนี้ การที่นายพลดักลาส แมคอาเธอร์ ลดหย่อนโทษให้แก่สมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ ไม่นำพระองค์ไปขึ้นศาลโลกในฐานะอาชญากรสงครามหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สงบลงนั้น ก็อาจจะเกิดมาจากคำตรัสคำนี้ก็เป็นได้และครั้นสมเด็จพระจักรพรรดิได้เสด็จไปพบปะกับนายพลแมคอาเธอร์หลังสงครามโลกนั้น ตามคำที่นายพลได้เขียนไว้ พระจักรพรรดิได้ตรัสกับเขาว่า"ข้าพเจ้าจะเป็นอย่างไรก็ไม่ว่า โทษนั้นข้าพเจ้าจะรับเอง แต่อยากให้ช่วยประชาชนแทน" เมื่อนายพลแมคอาเธอร์ได้ฟัง เขาก็ได้ซาบซึ้งใจอย่างมาก แต่เนื่องจากการสนทนานี้ไม่ค่อยมีใครรู้กันมากนัก จึงไม่ทราบว่าเป็นจริงหรือไม่

ครั้นมีการสัมภาษณ์สมเด็จพระจักรพรรดิเมื่อปี พ.ศ. 2518 พระองค์ก็ทรงตรัสว่า "ไม่สามารถที่จะเปิดเผยได้ เพราะเป็นคำสัญญาของลูกผู้ชาย"

 

 

 

สร้างโดย: 
นาฏธิดา เจียมจิตรวนิช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 356 คน กำลังออนไลน์