• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:22fac0d630136aef080e07b8b4701cb3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><a href=\"/node/89159\" title=\"HOME\"><img height=\"279\" width=\"600\" src=\"/files/u30458/bg8.gif\" border=\"0\" /></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>เริ่มสู่สงคราม <br />\n</strong><br />\nหลังการเข้ามามีบทบาทของญี่ปุ่นในเหตุการณ์นี้ เป็นที่คาดหมายว่า ญี่ปุ่นจะยาตราทัพเข้าสู่ประเทศไทยแน่ในอนาคต รัฐบาลไทยโดย จอมพล ป. ได้รณรงค์ให้ประชาชนปลูก ผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และการเสริมสร้างเศรษฐกิจระดับต้น ๆ อย่างเข้มแข็ง เพื่อรองรับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เช่นการออกพระราชบัญญัติสงวนอาชีพบางประเภท ที่ส่วนมากเป็นงานฝีมือ เฉพาะแก่คนไทย เป็นต้น และคำขวัญในครั้งนี้ก็ได้แก่ งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข </p>\n<p>บรรยายกาศโดยทั่วไปทั้งใน พระนคร และต่างจังหวัด ประชาชนต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ในเหตุการณ์สงครามที่อาจเกิดขึ้นในเวลาใกล้นี้ เพลงปลุกใจจำนวนมากได้ถูกเปิดขึ้นโดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย โดยในครั้งนี้ส่วนมากจะเป็น เพลงมาร์ช ของเหล่าทัพต่าง ๆ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"387\" width=\"268\" src=\"/files/u30458/102809678.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"font-family: Angsana New; font-size: large\">\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #828080; font-size: 8pt\">จอมพลเเปลกพิบูลสงคราม</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p>เครดีต : http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14</o:p></span></p></span>\n</div>\n<p>ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ตั้งแต่เวลาประมาณ 02.00 น. กองทัพญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นบกที่ ประจวบคีรีขันธ์ และอีกหลายจังหวัดใน ภาคกลาง ที่ติด อ่าวไทย มีการต่อสู้ต้านทานอย่างเข้มแข็งของทหารไทย ประชาชนทั่วไปและอาสาสมัครที่เป็นเยาวชน ที่เรียกว่า ยุวชนทหาร เป็นต้น ซึ่งในระยะแรกกองทัพญี่ปุ่นยังไม่อาจบุกเข้ามาได้ ทางญี่ปุ่นเองได้ประกาศว่า ไม่ต้องการยึดครองประเทศไทยแต่จะขอใช้ไทยเป็นทางผ่านไปยัง พม่า และ อินเดีย เท่านั้น การต่อสู้ทำท่าว่าจะยืดเยื้อต่อไป จนกระทั่งอัครราชทูตญี่ปุ่นเดินทางมาพบนายกรัฐมนตรีเมื่อเวลาประมาณ 07.55 น. พร้อมกับคำขู่ว่า ญี่ปุ่นได้เตรียมเครื่องบินทิ้งระเบิดไว้ 250 ลำที่ ไซ่ง่อน เพื่อจะมาทิ้งระเบิดกรุงเทพ ถ้าไทยไม่ยอมให้ผ่าน มีกำหนดเวลา 10.30 น. [1] รัฐบาลไทยเห็นว่า ไม่อาจต้านทานกองกำลังญี่ปุ่นได้นาน จึงยอมยุติการต่อสู้ และประกาศทางวิทยุให้ทุกฝ่ายหยุดยิง เมื่อเวลา 10.00 น. ในวันที่ 11 ธันวาคม ในอีก 4 วันต่อมา และทำพิธีลงนามร่วมเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในวันที่ 21 ธันวาคม ที่อุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม </p>\n<p><strong>ระหว่างสงคราม</strong> </p>\n<p>ในเวลานั้น ทหารญี่ปุ่นจำนวนมากได้เข้าสู่พระนครเต็มไปหมด และได้ใช้สถานที่ทางราชการบางแห่งเป็นที่ทำการ รัฐบาลได้ประกาศให้ญี่ปุ่นเป็น มหามิตร ประชาชนทุกคนต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนกับทางญี่ปุ่นอย่างเต็มที่ การกระทำใด ๆ ที่เป็นปรปักษ์มีโทษถึง ประหารชีวิต แต่ก็มีประชาชนบางส่วนลับหลังได้เรียกญี่ปุ่นอย่างดูถูกว่า &quot; ไอ้ยุ่น &quot; หรือ &quot; หมามิตร &quot; เป็นต้น\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><strong>ในระยะเริ่มแรกของสงคราม </strong><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"></span></span></span></span></o:p></span></span></span></o:p></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: 9pt\">ในระหว่างสงคราม กรุงเทพ ฯ ต้องเผชิญกับการทิ้งระเบิดของข้าศึก สถานที่จุดยุทธศาสตร์ถูกทิ้งระเบิด เช่น สะพานพระราม </span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: 9pt\">6 <span lang=\"TH\">หัวลำโพง เขตถนนสี่พระยา สุริวงค์ และสีลม โรงไฟฟ้าวัดเลียบและโรงไฟฟ้าสามเสน ถูกระเบิดเสียหายมากจนใช้การไม่ได้ รถราง ไฟฟ้า และน้ำประปาหยุดหมด ประชาชน ประสบความทุกข์ยากเพราะการอพยพหนีภัยสงครามและต้องต่อสู้กับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ</span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\"><strong>ใน<wbr></wbr>ระยะ<wbr></wbr>เริ่ม<wbr></wbr>แรก<wbr></wbr>ของ<wbr></wbr>สงคราม</strong> กอง<wbr></wbr>ทัพ<wbr></wbr>ญี่ปุ่น<wbr></wbr>มี<wbr></wbr>ชัย<wbr></wbr>ชนะ<wbr></wbr>ทั้ง<wbr></wbr>ทาง<wbr></wbr>บก ทาง<wbr></wbr>เรือ และ<wbr></wbr>ทาง<wbr></wbr>อากาศ ทำ<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr><strong>รัฐมนตรี<wbr></wbr>บาง<wbr></wbr>คน<wbr></wbr>เห็น<wbr></wbr>ควร<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>ไทย<wbr></wbr>ประกาศ<wbr></wbr>สงคราม<wbr></wbr>กับ<wbr></wbr>อังกฤษ และ<wbr></wbr>สหรัฐอเมริกา ด้วย<wbr></wbr>คิด<wbr></wbr>ว่า<wbr></wbr>ญี่ปุ่น<wbr></wbr>จะ<wbr></wbr>ชนะ<wbr></wbr>สงคราม<wbr></wbr>ไทย<wbr></wbr>จึง<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>ประกาศ สงคราม<wbr></wbr>เมื่อ<wbr></wbr>วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕</strong> ระหว่าง<wbr></wbr>สงคราม<wbr></wbr>นั้น<wbr></wbr>ญี่ปุ่น<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>โอน<wbr></wbr>ดิน<wbr></wbr>แดน<wbr></wbr>บาง<wbr></wbr>แห่ง<wbr></wbr>ที่<wbr></wbr>ยึด<wbr></wbr>ได้<wbr></wbr>จาก<wbr></wbr>อังกฤษ<wbr></wbr>คืน<wbr></wbr>ให้<wbr></wbr>แก่<wbr></wbr>ไทย คือ รัฐ<wbr></wbr>ไทร<wbr></wbr>บุรี ก<wbr></wbr>ลัน<wbr></wbr>ตัน ตรัง<wbr></wbr>กา<wbr></wbr>นู ปะ<wbr></wbr>ลิ<wbr></wbr>ส และ<wbr></wbr>สอง<wbr></wbr>รัฐ<wbr></wbr>ใน<wbr></wbr>แคว้น<wbr></wbr>ไทย<wbr></wbr>ใหญ่ คือ เชียง<wbr></wbr>ตุง และ<wbr></wbr>เมือง<wbr></wbr>พาน</span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"365\" width=\"250\" src=\"/files/u30458/102809642.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nเครดีต : <a href=\"http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14\">http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14</a>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<strong>ขณะเดียวกัน </strong>ทาง สหรัฐอเมริกา ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เอกอัครทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ไม่อาจยอมรับการประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรัฐบาลไทย และได้ประกาศขบวนการ เสรีไทย ขึ้นที่นั่น ในวันที่ 12 ธันวาคม พร้อม ๆ กับขบวนการเสรีไทยในที่อื่น ๆ ก็ได้เกิดขึ้น และเสถียรภาพความมั่นคงของรัฐบาลไทยก็ได้สั่นคลอน เมื่อ คณะราษฎร์ ฝ่ายพลเรือนหลายคน เช่น ปรีดี พนมยงค์ ทวี บุณยเกตุ ควง อภัยวงศ์ ได้แยกตัวออกมา เนื่องจากไม่อาจรับกับการกระทำของรัฐบาลเช่นเดียวกัน และ<span style=\"font-family: Tahoma\"><strong>กลายมาเป็นขบวนการเสรีไทยในประเทศ</strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma\"></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"350\" width=\"575\" src=\"/files/u30458/102809697.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 483px; height: 273px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nขบวนการเสรีไทย\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nเครดีต :http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14\n</div>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\"><strong>ญี่ปุ่นแพ้สงครามเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๘</strong> รัฐบาลไทยประกาศว่า การประกาศสงครามกับสัมพันธมิตรเป็นโมฆะ เพราะขัดต่อรัฐธรรมนูญและความประสงค์ของประชาชนชาวไทย ไทยต้องปรับความเข้าใจกับ สัมพันธมิตร สหรัฐอเมริกามิได้ถือไทยเป็นศัตรู ตามประกาศของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดย นาย เจมส์ เบิรนส์ (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">James Byrnes) <span lang=\"TH\">รัฐมนตรีต่างประเทศเป็นผู้ลงนาม แต่รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ นาย เออร์เนสต์ เบวิน (</span>Ernest Bevin) <span lang=\"TH\">ไม่ยอมรับทราบการโมฆะของการประกาศสงครามง่าย ๆ ลงวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ (เวลานั้น ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นหัวหน้ารัฐบาล</span>) <span lang=\"TH\">ผู้แทนไทยได้ลงนามกับผู้ แทนอังกฤษที่สิงคโปร์ ความตกลงนี้เรียกว่า</span> &quot;<span lang=\"TH\">ความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อสถานะสงครามระหว่างประเทศไทยกับบริเตนใหญ่และอินเดีย</span>&quot; <span lang=\"TH\">ที่สำคัญ คือไทยต้องคืนดินแดนของอังกฤษที่ได้มาระหว่างสงคราม ให้ข้าวสารโดยไม่ คิดเงินถึง ๑.๕ ล้านตัน และต้องชดใช้ค่าเสียหายต่าง ๆ แต่ต่อมาไทยเจรจาขอแก้ไขโดยฝ่ายอังกฤษสัญญาจะจ่ายเงินค่าข้าวสารให้บ้า<o:p></o:p> </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt 36pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">ไทยสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ และได้เข้าเป็นสมาชิกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการ เช่น ทำสัญญาทางไมตรีกับจีน (หลังสงคราม จีนเป็นมหาอำนาจเพราะเป็นฝ่ายชนะ สงครามด้วย สัญญานี้เป็นสัญญาฉบับแรกระหว่างไทยกับจีน ทั้ง ๆ ที่ได้มีไมตรีกันมานานนับร้อย ๆ ปี</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">) <span lang=\"TH\">ไทยยอมรับรองสหภาพสาธารณรัฐโซเวียต โซเซียลิสต์ และไทยยอมคืนดินแดนที่เราได้มาจากอนุสัญญากรุงโตเกียว หลังสงครามอินโดจีนให้แก่ฝรั่งเศษ<o:p></o:p> </span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">การที่ไทยเอาตัวรอดได้ทั้ง ๆ ที่อยู่ในฝ่ายประเทศแพ้สงครามนี้ ขบวนการเสรีไทยมีส่วนช่วยเหลือเป็นอย่างมาก ทำให้ประเทศสัมพันธมิตรโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาเห็นใจเมืองไทย ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูต ไทยประจำสหรัฐอเมริกาได้ประท้วงการประกาศสงครามของรัฐบาลไทย และได้รวบรวมคนไทยในสหรัฐอเมริกาขึ้นเป็นขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ในอังกฤษก็มีขบวนการเสรีไทยเช่นเดียวกันติดต่อกับหน่วยพลพรรคใต้ดินประเทศ ซึ่งมีนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นหัวหน้าเสรีไทยทั้งหลายเตรียมที่จะจับอาวุธขึ้นต่อสู้กับญี่ปุ่นตามวันเวลาที่นัดหมาย พร้อม ๆ กันกำลังของสัมพันธมิตรที่จะรุกเข้ามาทางพม่า แต่ญี่ปุ่น ได้ยอมแพ้เสียก่อน </span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไทยได้ร่วมมือกับฝ่ายโลกเสรี อันมีสหรัฐอเมริกาและอังกฤษเป็นหัวหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๓ รัฐบาลไทยยอมรับความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหารจากสหรัฐอเมริกา และใน พ.ศ. ๒๔๙๘ ก็ได้ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ รวม ๘ ประเทศ จัดตั้งองค์การป้องกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกโดยย่อว่าองค์การซีโต หรือสปอ</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 9pt\">. (SEATO-South East Asia Treaty Organization) <span lang=\"TH\">นอกจากนั้นไทยยังเป็น ภาคีสมาชิกของแผนการโคลัมโบ (</span>Columbo Plan) <span lang=\"TH\">ของประเทศในเครือจักรภพอีกด้วย</span> (<span lang=\"TH\">แผนการโคลัมโบ เป็นโครงการเพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางด้านเทคนิคและด้านเศรษฐกิจของประเทศในเครือจักรภพ เริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ นอกจากประเทศในเครือจักรภพซึ่งมีอังกฤษ แคนนาดา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เป็นตัวตั้งตัวตีที่จะช่วยเหลือประเทศที่เพิ่มได้รับเอกราช ได้แก่อินเดีย ปากีสถาน และลังกาแล้ว ต่อมาได้มีประเทศต่าง ๆ เข้ามาสมทบ อีก คือ เขมร ลาว เวียดนาม พม่า เนปาล อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลี ภูฏาน อัฟกานิสถาน หมู่เกาะมัลดีฟและสหรัฐอเมริกา</span>) <o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong>แหล่งอ้างอิง: </strong>\n</div>\n<div class=\"field-item odd\">\n<a href=\"http://atcloud.com/stories/21620\">http://atcloud.com/stories/21620</a>\n</div>\n<div class=\"field-item odd\">\n<a href=\"http://kungrhttp//knowledge.eduzones.com/knowledge-2-9-28067.html\">http://kungrhttp//knowledge.eduzones.com/knowledge-2-9-28067.html</a>\n</div>\n<div class=\"field-item odd\">\n<a href=\"http://knowledge.eduzones.com/knowledge-2-9-28067.html\">http://knowledge.eduzones.com/knowledge-2-9-28067.html</a>\n</div>\n<div class=\"field-item odd\">\n<a href=\"http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14\">http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&amp;chapter=14</a>\n</div>\n<div class=\"field-item odd\">\n</div>\n<p></p>\n', created = 1715975843, expire = 1716062243, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:22fac0d630136aef080e07b8b4701cb3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไทยในสงคราม

เริ่มสู่สงคราม

หลังการเข้ามามีบทบาทของญี่ปุ่นในเหตุการณ์นี้ เป็นที่คาดหมายว่า ญี่ปุ่นจะยาตราทัพเข้าสู่ประเทศไทยแน่ในอนาคต รัฐบาลไทยโดย จอมพล ป. ได้รณรงค์ให้ประชาชนปลูก ผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และการเสริมสร้างเศรษฐกิจระดับต้น ๆ อย่างเข้มแข็ง เพื่อรองรับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น เช่นการออกพระราชบัญญัติสงวนอาชีพบางประเภท ที่ส่วนมากเป็นงานฝีมือ เฉพาะแก่คนไทย เป็นต้น และคำขวัญในครั้งนี้ก็ได้แก่ งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข

บรรยายกาศโดยทั่วไปทั้งใน พระนคร และต่างจังหวัด ประชาชนต่างพากันวิพากษ์วิจารณ์ในเหตุการณ์สงครามที่อาจเกิดขึ้นในเวลาใกล้นี้ เพลงปลุกใจจำนวนมากได้ถูกเปิดขึ้นโดย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย โดยในครั้งนี้ส่วนมากจะเป็น เพลงมาร์ช ของเหล่าทัพต่าง ๆ

จอมพลเเปลกพิบูลสงคราม

เครดีต : http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&chapter=14

ในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2484 ตั้งแต่เวลาประมาณ 02.00 น. กองทัพญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นบกที่ ประจวบคีรีขันธ์ และอีกหลายจังหวัดใน ภาคกลาง ที่ติด อ่าวไทย มีการต่อสู้ต้านทานอย่างเข้มแข็งของทหารไทย ประชาชนทั่วไปและอาสาสมัครที่เป็นเยาวชน ที่เรียกว่า ยุวชนทหาร เป็นต้น ซึ่งในระยะแรกกองทัพญี่ปุ่นยังไม่อาจบุกเข้ามาได้ ทางญี่ปุ่นเองได้ประกาศว่า ไม่ต้องการยึดครองประเทศไทยแต่จะขอใช้ไทยเป็นทางผ่านไปยัง พม่า และ อินเดีย เท่านั้น การต่อสู้ทำท่าว่าจะยืดเยื้อต่อไป จนกระทั่งอัครราชทูตญี่ปุ่นเดินทางมาพบนายกรัฐมนตรีเมื่อเวลาประมาณ 07.55 น. พร้อมกับคำขู่ว่า ญี่ปุ่นได้เตรียมเครื่องบินทิ้งระเบิดไว้ 250 ลำที่ ไซ่ง่อน เพื่อจะมาทิ้งระเบิดกรุงเทพ ถ้าไทยไม่ยอมให้ผ่าน มีกำหนดเวลา 10.30 น. [1] รัฐบาลไทยเห็นว่า ไม่อาจต้านทานกองกำลังญี่ปุ่นได้นาน จึงยอมยุติการต่อสู้ และประกาศทางวิทยุให้ทุกฝ่ายหยุดยิง เมื่อเวลา 10.00 น. ในวันที่ 11 ธันวาคม ในอีก 4 วันต่อมา และทำพิธีลงนามร่วมเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นในวันที่ 21 ธันวาคม ที่อุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

ระหว่างสงคราม

ในเวลานั้น ทหารญี่ปุ่นจำนวนมากได้เข้าสู่พระนครเต็มไปหมด และได้ใช้สถานที่ทางราชการบางแห่งเป็นที่ทำการ รัฐบาลได้ประกาศให้ญี่ปุ่นเป็น มหามิตร ประชาชนทุกคนต้องให้ความร่วมมือและสนับสนุนกับทางญี่ปุ่นอย่างเต็มที่ การกระทำใด ๆ ที่เป็นปรปักษ์มีโทษถึง ประหารชีวิต แต่ก็มีประชาชนบางส่วนลับหลังได้เรียกญี่ปุ่นอย่างดูถูกว่า " ไอ้ยุ่น " หรือ " หมามิตร " เป็นต้น

ในระยะเริ่มแรกของสงคราม

ในระหว่างสงคราม กรุงเทพ ฯ ต้องเผชิญกับการทิ้งระเบิดของข้าศึก สถานที่จุดยุทธศาสตร์ถูกทิ้งระเบิด เช่น สะพานพระราม 6 หัวลำโพง เขตถนนสี่พระยา สุริวงค์ และสีลม โรงไฟฟ้าวัดเลียบและโรงไฟฟ้าสามเสน ถูกระเบิดเสียหายมากจนใช้การไม่ได้ รถราง ไฟฟ้า และน้ำประปาหยุดหมด ประชาชน ประสบความทุกข์ยากเพราะการอพยพหนีภัยสงครามและต้องต่อสู้กับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ

ในระยะเริ่มแรกของสงคราม กองทัพญี่ปุ่นมีชัยชนะทั้งทางบก ทางเรือ และทางอากาศ ทำให้รัฐมนตรีบางคนเห็นควรให้ไทยประกาศสงครามกับอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ด้วยคิดว่าญี่ปุ่นจะชนะสงครามไทยจึงได้ประกาศ สงครามเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๕ ระหว่างสงครามนั้นญี่ปุ่นได้โอนดินแดนบางแห่งที่ยึดได้จากอังกฤษคืนให้แก่ไทย คือ รัฐไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู ปะลิส และสองรัฐในแคว้นไทยใหญ่ คือ เชียงตุง และเมืองพาน

เครดีต : http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&chapter=14

ขณะเดียวกัน ทาง สหรัฐอเมริกา ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เอกอัครทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ไม่อาจยอมรับการประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นของรัฐบาลไทย และได้ประกาศขบวนการ เสรีไทย ขึ้นที่นั่น ในวันที่ 12 ธันวาคม พร้อม ๆ กับขบวนการเสรีไทยในที่อื่น ๆ ก็ได้เกิดขึ้น และเสถียรภาพความมั่นคงของรัฐบาลไทยก็ได้สั่นคลอน เมื่อ คณะราษฎร์ ฝ่ายพลเรือนหลายคน เช่น ปรีดี พนมยงค์ ทวี บุณยเกตุ ควง อภัยวงศ์ ได้แยกตัวออกมา เนื่องจากไม่อาจรับกับการกระทำของรัฐบาลเช่นเดียวกัน และกลายมาเป็นขบวนการเสรีไทยในประเทศ

ขบวนการเสรีไทย
เครดีต :http://writer.dek-d.com/dek-d/writer/viewlongc.php?id=565850&chapter=14

ญี่ปุ่นแพ้สงครามเมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ รัฐบาลไทยประกาศว่า การประกาศสงครามกับสัมพันธมิตรเป็นโมฆะ เพราะขัดต่อรัฐธรรมนูญและความประสงค์ของประชาชนชาวไทย ไทยต้องปรับความเข้าใจกับ สัมพันธมิตร สหรัฐอเมริกามิได้ถือไทยเป็นศัตรู ตามประกาศของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดย นาย เจมส์ เบิรนส์ (James Byrnes) รัฐมนตรีต่างประเทศเป็นผู้ลงนาม แต่รัฐมนตรีต่างประเทศอังกฤษ นาย เออร์เนสต์ เบวิน (Ernest Bevin) ไม่ยอมรับทราบการโมฆะของการประกาศสงครามง่าย ๆ ลงวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ (เวลานั้น ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เป็นหัวหน้ารัฐบาล) ผู้แทนไทยได้ลงนามกับผู้ แทนอังกฤษที่สิงคโปร์ ความตกลงนี้เรียกว่า "ความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อสถานะสงครามระหว่างประเทศไทยกับบริเตนใหญ่และอินเดีย" ที่สำคัญ คือไทยต้องคืนดินแดนของอังกฤษที่ได้มาระหว่างสงคราม ให้ข้าวสารโดยไม่ คิดเงินถึง ๑.๕ ล้านตัน และต้องชดใช้ค่าเสียหายต่าง ๆ แต่ต่อมาไทยเจรจาขอแก้ไขโดยฝ่ายอังกฤษสัญญาจะจ่ายเงินค่าข้าวสารให้บ้า

ไทยสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ และได้เข้าเป็นสมาชิกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขบางประการ เช่น ทำสัญญาทางไมตรีกับจีน (หลังสงคราม จีนเป็นมหาอำนาจเพราะเป็นฝ่ายชนะ สงครามด้วย สัญญานี้เป็นสัญญาฉบับแรกระหว่างไทยกับจีน ทั้ง ๆ ที่ได้มีไมตรีกันมานานนับร้อย ๆ ปี) ไทยยอมรับรองสหภาพสาธารณรัฐโซเวียต โซเซียลิสต์ และไทยยอมคืนดินแดนที่เราได้มาจากอนุสัญญากรุงโตเกียว หลังสงครามอินโดจีนให้แก่ฝรั่งเศษ การที่ไทยเอาตัวรอดได้ทั้ง ๆ ที่อยู่ในฝ่ายประเทศแพ้สงครามนี้ ขบวนการเสรีไทยมีส่วนช่วยเหลือเป็นอย่างมาก ทำให้ประเทศสัมพันธมิตรโดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาเห็นใจเมืองไทย ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูต ไทยประจำสหรัฐอเมริกาได้ประท้วงการประกาศสงครามของรัฐบาลไทย และได้รวบรวมคนไทยในสหรัฐอเมริกาขึ้นเป็นขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ในอังกฤษก็มีขบวนการเสรีไทยเช่นเดียวกันติดต่อกับหน่วยพลพรรคใต้ดินประเทศ ซึ่งมีนายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นหัวหน้าเสรีไทยทั้งหลายเตรียมที่จะจับอาวุธขึ้นต่อสู้กับญี่ปุ่นตามวันเวลาที่นัดหมาย พร้อม ๆ กันกำลังของสัมพันธมิตรที่จะรุกเข้ามาทางพม่า แต่ญี่ปุ่น ได้ยอมแพ้เสียก่อน หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไทยได้ร่วมมือกับฝ่ายโลกเสรี อันมีสหรัฐอเมริกาและอังกฤษเป็นหัวหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๓ รัฐบาลไทยยอมรับความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหารจากสหรัฐอเมริกา และใน พ.ศ. ๒๔๙๘ ก็ได้ ร่วมมือกับประเทศอื่น ๆ รวม ๘ ประเทศ จัดตั้งองค์การป้องกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกโดยย่อว่าองค์การซีโต หรือสปอ. (SEATO-South East Asia Treaty Organization) นอกจากนั้นไทยยังเป็น ภาคีสมาชิกของแผนการโคลัมโบ (Columbo Plan) ของประเทศในเครือจักรภพอีกด้วย (แผนการโคลัมโบ เป็นโครงการเพื่อการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางด้านเทคนิคและด้านเศรษฐกิจของประเทศในเครือจักรภพ เริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ นอกจากประเทศในเครือจักรภพซึ่งมีอังกฤษ แคนนาดา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ เป็นตัวตั้งตัวตีที่จะช่วยเหลือประเทศที่เพิ่มได้รับเอกราช ได้แก่อินเดีย ปากีสถาน และลังกาแล้ว ต่อมาได้มีประเทศต่าง ๆ เข้ามาสมทบ อีก คือ เขมร ลาว เวียดนาม พม่า เนปาล อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น เกาหลี ภูฏาน อัฟกานิสถาน หมู่เกาะมัลดีฟและสหรัฐอเมริกา)

แหล่งอ้างอิง:

สร้างโดย: 
นาฏธิดา เจียมจิตรวนิช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 370 คน กำลังออนไลน์