• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:993615e048b1dff036c7b74b345735a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center\">\n <img height=\"155\" width=\"400\" src=\"/files/u41079/03.gif\" border=\"0\" style=\"width: 495px; height: 141px\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<strong><a href=\"/node/88228\">กำเนิดระบบสุริยะ</a>   <a href=\"/node/88229\">ดาวเคราะห์ชั้นใน</a>   <a href=\"/node/88230\">ดาวเคราะห์ชั้นนอก</a>   <a href=\"/node/88231\">แถบดาวเคราะห์น้อย</a>   <a href=\"/node/88232\">เขตดาวหาง</a>   <a href=\"/node/88233\">ดวงอาทิตย์</a>   <a href=\"/node/88234\">สรุป</a></strong>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\nมวลของระบบสุริยะกว่าร้อยละ 99.8 อยู่ที่ดวงอาทิตย์ ดังนั้นการเกิดของระบบสุริยะจากเนบิวลามวลส่วนใหญ่กลายเป็นดวงอาทิตย์ ที่เหลือเล็กน้อยกลายเป็นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหางและเศษวัตถุขนาดเล็กๆจำนวนมาก เมื่อราว 5,000 ล้านปีมาแล้ว บริเวณที่เป็นระบบสุริยะในปัจจุบันเคยเป็นเนบิวลาที่มีแก๊ซไฮโดรเจนและธาตุต่างๆเป็นองค์ประกอบ แก๊ซ และธาตุเหล่านี้มาจากเนบิวลาดั่งเดิม และเนบิวลาใหม่ที่เกิดจากการจบชีวิตลงของดาวฤกษ์แต่ละขนาด ด้วยเหตุนี้เมื่อเนบิวลากลายเป็นระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ และบริวารจึงมีส่วนประกอบที่มีธาตุต่างๆคล้ายคลึงกัน<br />\nขณะที่มวลของเนบิวลาส่วนใหญ่กลายเป้นดวงอาทิตย์ เนบิวลาที่อยู่รอบนอกไม่ได้เคลื่อนเข้าไปรวมเป้นดวงอาทิตย์ แต่เคลื่อนหมุนวนเป็นแผ่นกลมแบนรอบดวงอาทิตย์ มวลเหล่านี้เคลื่อนวนจับกลุ่มเกิดเป็นดาวเคราะห์ และบริวารอื่นของดวงอาทิตย์\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"188\" width=\"268\" src=\"/files/u30451/images.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nเนบิวลายุบตัว และหมุนตัว\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:l88bPZHWbVpxfM::&amp;t=1&amp;usg=__zwKFRIv1ofk-uiqVTsHeezpPgcQ\">http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:l88bPZHWbVpxfM::&amp;t=1&amp;usg=__zwKFRIv1ofk-uiqVTsHeezpPgcQ</a>=\n</div>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\nนักดาราศาสตร์แบ่งเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย์ตามลักษณะการก่อตัวเกิดเป็นบริวารของดวงอาทิตย์ออกเป้น 4 เขต คือ <br />\n<span style=\"background-color: #ff9900\">1. ดาวเคราะห์ชั้นใน</span> <br />\n<span style=\"background-color: #99cc00\">2. แถบดาวเคราะห์น้อย <br />\n</span><span style=\"background-color: #ff33cc\">3. ดาวเคราะห์ชั้นนอก <br />\n</span><span style=\"background-color: #00ffff\">4. เขตของดาวหาง</span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ดาวเคราะห์ชั้นใน</u></strong></span>ของระบบสุริยะ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ดาวเคราะห์เหล่านี้ มีพื้นผิวแข็งหรือเป็นหินแบบเดียวกับโลก จึงเรียกว่าดาวเคราะห์หิน หรือดาวเคราะห์แบบโลก นักดาราศาสตร์ ประมาณว่าคงใช้เวลาไม่น้อยกว่า 100 ล้านปีจึงเกิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน ซึ่งเกิดจากการพอกพูนมวล\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"196\" width=\"450\" src=\"/files/u30451/2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 413px; height: 156px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nดาวเคราะห์ชั้นใน : ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/patterns_images/terrestrial_planets.jpg\">http://www.sunflowercosmos.org/solar_system/patterns_images/terrestrial_planets.jpg</a>\n</div>\n<p>\nมวลที่อยู่บริเวณ<span style=\"color: #99cc00\"><strong><u>แถบของดาวเคราะห์น้อย</u></strong></span>คือบริเวณระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี นักดาราศาสตร์คาดว่าคงมีการก่อตัวเช่นเดียวกับวัตถุที่ก่อกำเนิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน เศษที่เหลือจากการพอกพูนมวลเป็นดาวเคราะห์หินถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดีซึ่งมีขนาดใหญ่และเกิดมาก่อนคือเกิดพร้อมกับดวงอาทิตย์ ทำให้มวลในบริเวณแถบของดาวเคราะห์น้อยไม่สามารถจับตัวกันให้มีขนาดใหญ่ได้ จึงปรากฏมีแต่ดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กๆจำนวนมาก\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"563\" src=\"/files/u30451/ee1belts.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 390px; height: 135px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nแถบดาวเคราะห์น้อยของดาวเอปสิลอน\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.solstation.com/stars/ee1belts.jpg\">http://www.solstation.com/stars/ee1belts.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff33cc\"><strong><u>ดาวเคราะห์ชั้นนอก</u></strong></span>หรือดาวเคราะห์ยักษ์เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจน และฮีเลียมทั้งดวง ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จึงอาจเรียกว่า ดาวเคราะห์แก๊ซ ส่วนดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์แคระที่อยู่ไกล มีสมบัติคล้ายดาวเคราะห์น้อย\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"212\" width=\"477\" src=\"/files/u30451/23912.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 368px; height: 125px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nดาวเคราะห์ชั้นนอก : ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนจูน\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/23/23912.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/23/23912.jpg</a>\n</div>\n<p>\nเศษที่เหลือจากดาวเคราะห์ยักษ์คือ<span style=\"color: #00ffff\"><strong><u>ดาวหาง</u></strong></span>จำนวนมากที่อยู่รอบนอกของระบบสุริยะ ส่วนเศษเหลือจากการสร้างดาวเคราะห์หินคือดาวเคราะห์น้อยดังที่กล่าวมาแล้ว\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"201\" width=\"251\" src=\"/files/u30451/imagesCAO4XTR3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 249px; height: 153px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nดาวหาง\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.student.chula.ac.th/~50370299/comet-hale-bopp.jpg\">http://www.student.chula.ac.th/~50370299/comet-hale-bopp.jpg</a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82158\"><img height=\"127\" width=\"324\" src=\"/files/u30451/main.gif\" border=\"0\" style=\"width: 182px; height: 80px\" /></a> <a href=\"/node/88226\"><img height=\"154\" width=\"371\" src=\"/files/u30451/icon01.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 180px; height: 81px\" /></a>\n</div>\n</div>\n', created = 1719823994, expire = 1719910394, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:993615e048b1dff036c7b74b345735a4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กำเนิดระบบสุริยะ

 

กำเนิดระบบสุริยะ   ดาวเคราะห์ชั้นใน   ดาวเคราะห์ชั้นนอก   แถบดาวเคราะห์น้อย   เขตดาวหาง   ดวงอาทิตย์   สรุป

มวลของระบบสุริยะกว่าร้อยละ 99.8 อยู่ที่ดวงอาทิตย์ ดังนั้นการเกิดของระบบสุริยะจากเนบิวลามวลส่วนใหญ่กลายเป็นดวงอาทิตย์ ที่เหลือเล็กน้อยกลายเป็นดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์แคระ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหางและเศษวัตถุขนาดเล็กๆจำนวนมาก เมื่อราว 5,000 ล้านปีมาแล้ว บริเวณที่เป็นระบบสุริยะในปัจจุบันเคยเป็นเนบิวลาที่มีแก๊ซไฮโดรเจนและธาตุต่างๆเป็นองค์ประกอบ แก๊ซ และธาตุเหล่านี้มาจากเนบิวลาดั่งเดิม และเนบิวลาใหม่ที่เกิดจากการจบชีวิตลงของดาวฤกษ์แต่ละขนาด ด้วยเหตุนี้เมื่อเนบิวลากลายเป็นระบบสุริยะ ดวงอาทิตย์ และบริวารจึงมีส่วนประกอบที่มีธาตุต่างๆคล้ายคลึงกัน
ขณะที่มวลของเนบิวลาส่วนใหญ่กลายเป้นดวงอาทิตย์ เนบิวลาที่อยู่รอบนอกไม่ได้เคลื่อนเข้าไปรวมเป้นดวงอาทิตย์ แต่เคลื่อนหมุนวนเป็นแผ่นกลมแบนรอบดวงอาทิตย์ มวลเหล่านี้เคลื่อนวนจับกลุ่มเกิดเป็นดาวเคราะห์ และบริวารอื่นของดวงอาทิตย์

เนบิวลายุบตัว และหมุนตัว

นักดาราศาสตร์แบ่งเขตพื้นที่รอบดวงอาทิตย์ตามลักษณะการก่อตัวเกิดเป็นบริวารของดวงอาทิตย์ออกเป้น 4 เขต คือ
1. ดาวเคราะห์ชั้นใน
2. แถบดาวเคราะห์น้อย
3. ดาวเคราะห์ชั้นนอก
4. เขตของดาวหาง

ดาวเคราะห์ชั้นในของระบบสุริยะ ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ดาวเคราะห์เหล่านี้ มีพื้นผิวแข็งหรือเป็นหินแบบเดียวกับโลก จึงเรียกว่าดาวเคราะห์หิน หรือดาวเคราะห์แบบโลก นักดาราศาสตร์ ประมาณว่าคงใช้เวลาไม่น้อยกว่า 100 ล้านปีจึงเกิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน ซึ่งเกิดจากการพอกพูนมวล

ดาวเคราะห์ชั้นใน : ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร

มวลที่อยู่บริเวณแถบของดาวเคราะห์น้อยคือบริเวณระหว่างวงโคจรของดาวอังคารและดาวพฤหัสบดี นักดาราศาสตร์คาดว่าคงมีการก่อตัวเช่นเดียวกับวัตถุที่ก่อกำเนิดเป็นดาวเคราะห์ชั้นใน เศษที่เหลือจากการพอกพูนมวลเป็นดาวเคราะห์หินถูกแรงรบกวนของดาวพฤหัสบดีซึ่งมีขนาดใหญ่และเกิดมาก่อนคือเกิดพร้อมกับดวงอาทิตย์ ทำให้มวลในบริเวณแถบของดาวเคราะห์น้อยไม่สามารถจับตัวกันให้มีขนาดใหญ่ได้ จึงปรากฏมีแต่ดาวเคราะห์น้อยขนาดเล็กๆจำนวนมาก

แถบดาวเคราะห์น้อยของดาวเอปสิลอน

ดาวเคราะห์ชั้นนอกหรือดาวเคราะห์ยักษ์เป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบหลักเป็นไฮโดรเจน และฮีเลียมทั้งดวง ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน จึงอาจเรียกว่า ดาวเคราะห์แก๊ซ ส่วนดาวพลูโตเป็นดาวเคราะห์แคระที่อยู่ไกล มีสมบัติคล้ายดาวเคราะห์น้อย

ดาวเคราะห์ชั้นนอก : ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนจูน

เศษที่เหลือจากดาวเคราะห์ยักษ์คือดาวหางจำนวนมากที่อยู่รอบนอกของระบบสุริยะ ส่วนเศษเหลือจากการสร้างดาวเคราะห์หินคือดาวเคราะห์น้อยดังที่กล่าวมาแล้ว

ดาวหาง
สร้างโดย: 
กัลยารัตน์ ลิขิตรัตติวงศ์ / อาจารย์กุลรนี อารีมิตร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 551 คน กำลังออนไลน์