• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2bcea3af239d76b260e34c8560af3d04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/a3.jpg\" alt=\"การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม\" width=\"296\" height=\"88\" /> \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86682\"><img src=\"/files/u40686/a3_1.jpg\" alt=\"ความหมายสิ่งแวดล้อม\" width=\"208\" height=\"59\" /></a>              <a href=\"/node/86683\"><img src=\"/files/u40686/a3_2.jpg\" alt=\"มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม\" width=\"202\" height=\"54\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86684\"><img src=\"/files/u40686/a3_3.jpg\" alt=\"สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม \" width=\"207\" height=\"54\" /></a>             <a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/a3_4.jpg\" alt=\"ผลที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม\" width=\"204\" height=\"56\" /></a>          <a href=\"/node/84142\"><img src=\"/files/u40686/back.jpg\" alt=\"HOME\" width=\"95\" height=\"55\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img src=\"/files/u40686/z5.gif\" width=\"350\" height=\"50\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรน้ำในประเทศไทย</u> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แหล่งน้ำที่มีอยู่ ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย มีปัญหาที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นอยู่หลายด้านดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u40686/b31.jpg\" width=\"117\" height=\"125\" />                                          <img src=\"/files/u40686/b27.jpg\" width=\"218\" height=\"124\" />\n</p>\n<p>\nน้ำเสียจากชุมชน                                                        น้ำเสียจากโรงงานอุตสหกรรม\n</p>\n<p><sub>                      http://www.gimyong.com/environment/images/dirty.jpg                          http://swu141km.swu.ac.th/images/d/d6/Namsia.jpg</sub> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. น้ำเสีย น้ำเสียในปัจจุบันมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ซึ่งพอจะแยกแหล่งของน้ำเสียได้ 3 แหล่งใหญ่ๆ คือน้ำเสียจากภาคการเกษตรทั้งจาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ น้ำเสียจากอุตสาหกรรม และ น้ำเสียจากชุมชน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b30.jpeg\" width=\"147\" height=\"110\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.isc-gspa.org/News/image/2010722314381.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. การขาดแคลนน้ำ ในหน้าแล้ง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้จำนวน 13,000 - 24,000 หมู่บ้าน ประชากรประมาณ 6 - 10 ล้านคน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">ซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การขาดแคลนน้ำในระดับวิกฤตจะเกิดเป็นระยะๆ และรุนแรงขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. คุณภาพน้ำ ปัจจุบันแหล่งน้ำจำนวนมากมีปัญหาด้านคุณภาพน้ำ ถึงแม่ว่าจะยังไม่ใช่น้ำเสีย แต่ก็เป็นน้ำที่มีคุณภาพต่ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ปัญหาที่พบคือ น้ำมีความขุ่นสูง ค่า pH ต่ำ มีการปนเปื้อนของสารพิษ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. การรุกล้ำของน้ำเค็ม เนื่องจากบริเวณปากแม่น้ำมีปริมาณน้ำจืดที่จะไปผลักดันน้ำเค็มมีน้อย ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุทั้งฝนแล้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การใช้น้ำจำนวนมากในกิจกรรมต่างๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b33.jpg\" width=\"148\" height=\"118\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.kmitl.ac.th/soilkmitl/know/conser/sw.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. การชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากผิวดินถูกเปลี่ยนสภาพไปเป็นพื้นที่การเกษตรจำนวนมากทำให้หน้าดิน เปิดโล่งเมื่อมีฝนตกลงมาอย่างหนัก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">จึงก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย      </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b34_0.jpg\" width=\"174\" height=\"174\" />\n</p>\n<p><sub><br />\n</sub></p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.rd1677.com/backoffice/PicUpdate/70895.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. การเกิดอุทกภัย เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแถบทุกปีในช่วงฤดูมรสุม เกิดจากฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แหล่งน้ำตื้นเขินทำให้รองรับน้ำได้น้อยลง การก่อสร้างที่ทำให้น้ำไหลได้น้อยลง เช่น การก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">น้ำท่วมอาจเกิดจากน้ำทะเลหนุนสูงขึ้น และการสูญเสียพื้นที่ น้ำท่วมขัง ตัวอย่างได้แก่ การถมคลองเพื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัย เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7. ความขัดแย้งในเรื่องการใช้น้ำ เนื่องจากความต้องการใช้น้ำมีมากขึ้นในพื้นที่ที่มีความต้องการใช้น้ำสูง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">จึงเป็นที่ที่มีความขัดแย้ง หรือแม้แต่ความต้องการใช้น้ำที่ต่างกัน เช่น กรณีของเขื่อนปากมูล ชาวบ้านต้องการใช้น้ำเพื่อการ ทำประมง และรักษาสมดุล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ธรรมชาติแต่หน่วยงานราชการต้องการน้ำเพื่อการผลิตกระแส ไฟฟ้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8. การสูบน้ำใต้ดินไปใช้มากจนแผ่นดินทรุดตัว ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 6 จังหวัดใช้น้ำบาดาลจำนวนมาก เมื่อปี 2538 พบว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ใช้ประมาณวันละ 1.5 ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใช้ประมาณวันละ1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ทำให้ดินทรุดตัวลงทีละน้อยและทำให้เกิดน้ำท่วมขังได้ง่ายขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">9. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างไม่เหมาะสม เช่น ใช้มากเกินความจำเป็นโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเจริญจะมี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การใช้น้ำสูงและใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>ผลกระทบของน้ำเสียต่อสิ่งแวดล้อม </u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนำโรคต่างๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. ทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ำ และอากาศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. ทำให้เกิดเหตุรำคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ำโสโครก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. ทำให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ำที่มีสีดำคล้ำไปด้วยขยะ และสิ่งปฎิกูล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิดจำนวนสัตว์น้ำลดลง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8. ทำให้สัตว์น้ำหลายชนิดเกิดการตาย ย้ายถิ่น หรืออาจสูญพันธุ์ในที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/b23.jpg\" alt=\"ย้อนกลับ\" width=\"136\" height=\"110\" /></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/a3.jpg\" alt=\"การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม \" width=\"256\" height=\"76\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86682\"><img src=\"/files/u40686/a3_1.jpg\" alt=\"ความหมายสิ่งแวดล้อม\" width=\"207\" height=\"59\" /></a>               <a href=\"/%20/node/86683\"><img src=\"/files/u40686/a3_2.jpg\" alt=\"มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม\" width=\"197\" height=\"53\" /></a>  \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86684\"><img src=\"/files/u40686/a3_3.jpg\" alt=\"สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม \" width=\"199\" height=\"52\" /></a>               <a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/a3_4.jpg\" alt=\"ผลที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม\" width=\"203\" height=\"56\" /></a>         <a href=\"/node/84142\"><img src=\"/files/u40686/back.jpg\" alt=\"HOME\" width=\"95\" height=\"55\" /></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/z5.gif\" width=\"350\" height=\"50\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>การอนุรักษ์น้ำ </u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แก้ไขปัญหาน้ำเสียหรือการสูญเสียทรัพยากรน้ำด้วยการอนุรักษ์ น้ำ ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. การใช้น้ำอย่างประหยัด การใช้น้ำอย่างประหยัดนอกจากจะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้ำลงได้แล้ว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ยังทำให้ปริมาณน้ำเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้ำมีปริมาณน้อย และป้องกันการขาดแคลนน้ำได้ด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. การสงวนน้ำไว้ใช้ ในบางฤดูหรือในสภาวะที่มีน้ำมากเหลือใช้ควรมีการเก็บน้ำไว้ใช้ เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การทาบ่อเก็บน้ำ การสร้างโอ่งน้ำ ขุดลอกแหล่งน้ำ รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้ำ และระบบชลประทาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. การพัฒนาแหล่งน้ำ ในบางพื้นที่ที่ขาดแคลนน้ำ จำเป็นที่จะต้องหาแหล่งน้ำเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถมีน้ำไว้ใช้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ทั้งในครัวเรือนและในการเกษตรได้อย่างพอเพียง ปัจจุบันการนำน้ำบาดาลขึ้นมาใช้กำลังแพร่หลายมากขึ้นแต่อาจมีปัญหาเรื่อง แผ่นดินทรุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. การป้องกันน้ำเสีย การไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฎิกูลและสารพิษลงในแหล่งน้ำ น้ำเสียที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">โรงพยาบาล ควรมีการบำบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. การนำน้ำเสียกลับไปใช้ น้ำที่ไม่สามารถใช้ได้ในกิจการอย่างหนึ่งอาจใช้ได้ในอีกกิจการหนึ่ง เช่น น้ำทิ้งจากการล้างภาชนะอาหาร    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">สามารถนำไปรดต้นไม้ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. ควรลดความต้องการในการใช้น้ำสำหรับบ้านพักอาศัยลง โดยการจัดการภูมิทัศน์อย่างมีประสิทธิภาพ มีการนำน้ำที่บำบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">หรือนำน้ำใช้จากครัวเรือนในบางส่วนมาใช้ในการรดน้ำต้นไม้ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7. การใช้น้ำในงานภูมิทัศน์อย่างมีประสิทธิภาพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8. การวางผังพื้นที่และการจัดภูมิทัศน์ มีความเชื่อมโยงกับการใช้น้ำ ดังนั้นการใช้น้ำในงานภูมิทัศน์อย่างมีประสิทธิภาพ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">มีผลกระทบอย่างมากต่อการประหยัดน้ำในการพัฒนาพื้นที่ การเลือกใช้วัสดุพืชพันธุ์ ซึ่งต้องการน้ำน้อย โดยพยายาม ไม่นำไม้ต่างถิ่นมาใช้เป็นสิ่งที่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ควรทำเป็นอันดับแรก ในกรณีนี้การเลือกใช้พันธุ์ไม้ในพื้นที่มักเป็นคำตอบที่ดี เนื่องจากเป็นพันธุ์ไม้ที่สามารถปรับตัวได้ดีในสภาพภูมิอากาศนั้นๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">และต้องการน้ำในปริมาณที่สภาพแวดล้อมในที่นั้นๆ มีให้ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">9. การรดน้ำต้นไม้ในช่วงเวลาเย็นหรือเช้า เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมกว่าการรดน้ำในช่วงกลางวัน เนื่องจากจะสูญเสียน้ำไปเพราะการระเหยในปริมาณมาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การลดขนาดของสนามหญ้าเป็นวิธีทีดีในการอนุรักษ์น้ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">10. การกักเก็บน้ำฝน  การกักเก็บน้ำฝนโดยใช้อ่างเก็บน้ำหรือภาชนะอื่นๆ สามารถนำน้ำนั้นมาใช้ในงานภูมิทัศน์หรือนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภคได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">น้ำฝนจากหลังคามักจะถูกเก็บไว้ในโอ่งหรือแท้งน้ำ เพื่อนำมาใช้ในภายหลัง ในบางกรณีการกักเก็บน้ำฝนสามารถนำน้ำมาใช้ได้สำหรับทั้ง  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ชุมชนเลยที่เดียว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">11. การนำน้ำใช้กลับมาใช้ใหม่น้ำที่ใช้แล้วในชุมชนมี 2 ชนิด คือ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1) น้ำใช้จากการอาบน้ำ การซักล้าง การล้างจาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2) น้ำเสียจากโถส้วม น้ำใช้แล้วจากแหล่งที่ 1 นั้นสามารถนำกลับมาใช้ในงานภูมิทัศน์ได้ และจะช่วยประหยัดน้ำได้มาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ในการบำบัดน้ำ เราสามารถนำการบำบัดด้วยวิธีธรรมชาติมาใช้เป็นทางเลือก นอกเหนือไปจากการบำบัดด้วยโรงงานบำบัด เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การบำบัดด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ (Wetland) ซึ่งจะช่วยอนุรักษ์น้ำ และเป็นระบบชีวภาพที่ไม่เป็นอันตรายและช่วยประหยัดพลังงาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ทำให้ประหยัดในทางด้านเศรษฐกิจมากกว่าการบำบัดด้วยโรงงานบำบัด   </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/b23.jpg\" alt=\"ย้อนกลับ\" width=\"142\" height=\"115\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span></p>\n<p><u>แหล่งอ้างอิง </u>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/sec01p03.html </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/sec01p05.html </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nakhonsithamrat/arunee_w/cheevit/sec01p04.html </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/z5.gif\" width=\"350\" height=\"50\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719997905, expire = 1720084305, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2bcea3af239d76b260e34c8560af3d04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:83bc9c667e1d84d3a724250ce00d7a19' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/a3.jpg\" alt=\"การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม\" width=\"296\" height=\"88\" /> \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86682\"><img src=\"/files/u40686/a3_1.jpg\" alt=\"ความหมายสิ่งแวดล้อม\" width=\"208\" height=\"59\" /></a>              <a href=\"/node/86683\"><img src=\"/files/u40686/a3_2.jpg\" alt=\"มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม\" width=\"202\" height=\"54\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86684\"><img src=\"/files/u40686/a3_3.jpg\" alt=\"สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม \" width=\"207\" height=\"54\" /></a>             <a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/a3_4.jpg\" alt=\"ผลที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม\" width=\"204\" height=\"56\" /></a>          <a href=\"/node/84142\"><img src=\"/files/u40686/back.jpg\" alt=\"HOME\" width=\"95\" height=\"55\" /></a>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img src=\"/files/u40686/z5.gif\" width=\"350\" height=\"50\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรน้ำในประเทศไทย</u> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แหล่งน้ำที่มีอยู่ ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย มีปัญหาที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นอยู่หลายด้านดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u40686/b31.jpg\" width=\"117\" height=\"125\" />                                          <img src=\"/files/u40686/b27.jpg\" width=\"218\" height=\"124\" />\n</p>\n<p>\nน้ำเสียจากชุมชน                                                        น้ำเสียจากโรงงานอุตสหกรรม\n</p>\n<p><sub>                      http://www.gimyong.com/environment/images/dirty.jpg                          http://swu141km.swu.ac.th/images/d/d6/Namsia.jpg</sub> </p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. น้ำเสีย น้ำเสียในปัจจุบันมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ซึ่งพอจะแยกแหล่งของน้ำเสียได้ 3 แหล่งใหญ่ๆ คือน้ำเสียจากภาคการเกษตรทั้งจาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ น้ำเสียจากอุตสาหกรรม และ น้ำเสียจากชุมชน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b30.jpeg\" width=\"147\" height=\"110\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.isc-gspa.org/News/image/2010722314381.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. การขาดแคลนน้ำ ในหน้าแล้ง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้จำนวน 13,000 - 24,000 หมู่บ้าน ประชากรประมาณ 6 - 10 ล้านคน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">ซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การขาดแคลนน้ำในระดับวิกฤตจะเกิดเป็นระยะๆ และรุนแรงขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. คุณภาพน้ำ ปัจจุบันแหล่งน้ำจำนวนมากมีปัญหาด้านคุณภาพน้ำ ถึงแม่ว่าจะยังไม่ใช่น้ำเสีย แต่ก็เป็นน้ำที่มีคุณภาพต่ำ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ปัญหาที่พบคือ น้ำมีความขุ่นสูง ค่า pH ต่ำ มีการปนเปื้อนของสารพิษ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. การรุกล้ำของน้ำเค็ม เนื่องจากบริเวณปากแม่น้ำมีปริมาณน้ำจืดที่จะไปผลักดันน้ำเค็มมีน้อย ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุทั้งฝนแล้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การใช้น้ำจำนวนมากในกิจกรรมต่างๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b33.jpg\" width=\"148\" height=\"118\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.kmitl.ac.th/soilkmitl/know/conser/sw.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. การชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากผิวดินถูกเปลี่ยนสภาพไปเป็นพื้นที่การเกษตรจำนวนมากทำให้หน้าดิน เปิดโล่งเมื่อมีฝนตกลงมาอย่างหนัก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">จึงก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย      </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40686/b34_0.jpg\" width=\"174\" height=\"174\" />\n</p>\n<p><sub><br />\n</sub></p>\n<div align=\"center\">\n<sub>http://www.rd1677.com/backoffice/PicUpdate/70895.jpg</sub>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. การเกิดอุทกภัย เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแถบทุกปีในช่วงฤดูมรสุม เกิดจากฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">แหล่งน้ำตื้นเขินทำให้รองรับน้ำได้น้อยลง การก่อสร้างที่ทำให้น้ำไหลได้น้อยลง เช่น การก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span><span style=\"color: #0000ff\">น้ำท่วมอาจเกิดจากน้ำทะเลหนุนสูงขึ้น และการสูญเสียพื้นที่ น้ำท่วมขัง ตัวอย่างได้แก่ การถมคลองเพื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัย เป็นต้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7. ความขัดแย้งในเรื่องการใช้น้ำ เนื่องจากความต้องการใช้น้ำมีมากขึ้นในพื้นที่ที่มีความต้องการใช้น้ำสูง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">จึงเป็นที่ที่มีความขัดแย้ง หรือแม้แต่ความต้องการใช้น้ำที่ต่างกัน เช่น กรณีของเขื่อนปากมูล ชาวบ้านต้องการใช้น้ำเพื่อการ ทำประมง และรักษาสมดุล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ธรรมชาติแต่หน่วยงานราชการต้องการน้ำเพื่อการผลิตกระแส ไฟฟ้า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8. การสูบน้ำใต้ดินไปใช้มากจนแผ่นดินทรุดตัว ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 6 จังหวัดใช้น้ำบาดาลจำนวนมาก เมื่อปี 2538 พบว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ใช้ประมาณวันละ 1.5 ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใช้ประมาณวันละ1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">ทำให้ดินทรุดตัวลงทีละน้อยและทำให้เกิดน้ำท่วมขังได้ง่ายขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">9. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างไม่เหมาะสม เช่น ใช้มากเกินความจำเป็นโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเจริญจะมี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">การใช้น้ำสูงและใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><u>ผลกระทบของน้ำเสียต่อสิ่งแวดล้อม </u></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนำโรคต่างๆ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">3. ทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ำ และอากาศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">4. ทำให้เกิดเหตุรำคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ำโสโครก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">5. ทำให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ำที่มีสีดำคล้ำไปด้วยขยะ และสิ่งปฎิกูล </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">6. ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิดจำนวนสัตว์น้ำลดลง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">7. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">8. ทำให้สัตว์น้ำหลายชนิดเกิดการตาย ย้ายถิ่น หรืออาจสูญพันธุ์ในที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/86685\"><img src=\"/files/u40686/b23.jpg\" alt=\"ย้อนกลับ\" width=\"136\" height=\"110\" /></a>\n</p>\n', created = 1719997905, expire = 1720084305, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:83bc9c667e1d84d3a724250ce00d7a19' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรน้ำในประเทศไทย

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 

ความหมายสิ่งแวดล้อม              มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม

สาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม              ผลที่เกิดจากสิ่งแวดล้อม          HOME


ปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรน้ำในประเทศไทย

แหล่งน้ำที่มีอยู่ ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย มีปัญหาที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นอยู่หลายด้านดังนี้

                                        

น้ำเสียจากชุมชน                                                        น้ำเสียจากโรงงานอุตสหกรรม

                      http://www.gimyong.com/environment/images/dirty.jpg                          http://swu141km.swu.ac.th/images/d/d6/Namsia.jpg

1. น้ำเสีย น้ำเสียในปัจจุบันมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ซึ่งพอจะแยกแหล่งของน้ำเสียได้ 3 แหล่งใหญ่ๆ คือน้ำเสียจากภาคการเกษตรทั้งจาก

การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ น้ำเสียจากอุตสาหกรรม และ น้ำเสียจากชุมชน

http://www.isc-gspa.org/News/image/2010722314381.jpg

2. การขาดแคลนน้ำ ในหน้าแล้ง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้ำดื่มน้ำใช้จำนวน 13,000 - 24,000 หมู่บ้าน ประชากรประมาณ 6 - 10 ล้านคน

ซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การขาดแคลนน้ำในระดับวิกฤตจะเกิดเป็นระยะๆ และรุนแรงขึ้น

3. คุณภาพน้ำ ปัจจุบันแหล่งน้ำจำนวนมากมีปัญหาด้านคุณภาพน้ำ ถึงแม่ว่าจะยังไม่ใช่น้ำเสีย แต่ก็เป็นน้ำที่มีคุณภาพต่ำ

ปัญหาที่พบคือ น้ำมีความขุ่นสูง ค่า pH ต่ำ มีการปนเปื้อนของสารพิษ

4. การรุกล้ำของน้ำเค็ม เนื่องจากบริเวณปากแม่น้ำมีปริมาณน้ำจืดที่จะไปผลักดันน้ำเค็มมีน้อย ซึ่งเกิดจากหลายสาเหตุทั้งฝนแล้ง

การใช้น้ำจำนวนมากในกิจกรรมต่างๆ

http://www.kmitl.ac.th/soilkmitl/know/conser/sw.jpg

5. การชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากผิวดินถูกเปลี่ยนสภาพไปเป็นพื้นที่การเกษตรจำนวนมากทำให้หน้าดิน เปิดโล่งเมื่อมีฝนตกลงมาอย่างหนัก

จึงก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย     


http://www.rd1677.com/backoffice/PicUpdate/70895.jpg

6. การเกิดอุทกภัย เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นแถบทุกปีในช่วงฤดูมรสุม เกิดจากฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆเนื่องจากการตัดไม้ทำลายป่า

แหล่งน้ำตื้นเขินทำให้รองรับน้ำได้น้อยลง การก่อสร้างที่ทำให้น้ำไหลได้น้อยลง เช่น การก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้

น้ำท่วมอาจเกิดจากน้ำทะเลหนุนสูงขึ้น และการสูญเสียพื้นที่ น้ำท่วมขัง ตัวอย่างได้แก่ การถมคลองเพื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัย เป็นต้น

7. ความขัดแย้งในเรื่องการใช้น้ำ เนื่องจากความต้องการใช้น้ำมีมากขึ้นในพื้นที่ที่มีความต้องการใช้น้ำสูง

จึงเป็นที่ที่มีความขัดแย้ง หรือแม้แต่ความต้องการใช้น้ำที่ต่างกัน เช่น กรณีของเขื่อนปากมูล ชาวบ้านต้องการใช้น้ำเพื่อการ ทำประมง และรักษาสมดุล

ธรรมชาติแต่หน่วยงานราชการต้องการน้ำเพื่อการผลิตกระแส ไฟฟ้า

8. การสูบน้ำใต้ดินไปใช้มากจนแผ่นดินทรุดตัว ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 6 จังหวัดใช้น้ำบาดาลจำนวนมาก เมื่อปี 2538 พบว่า

ใช้ประมาณวันละ 1.5 ล้านลูกบาศก์เมตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใช้ประมาณวันละ1.2 ล้านลูกบาศก์เมตร

ทำให้ดินทรุดตัวลงทีละน้อยและทำให้เกิดน้ำท่วมขังได้ง่ายขึ้น

9. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้ำอย่างไม่เหมาะสม เช่น ใช้มากเกินความจำเป็นโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีความเจริญจะมี

การใช้น้ำสูงและใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือย

ผลกระทบของน้ำเสียต่อสิ่งแวดล้อม

1. เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด ท้องเสีย

2. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงนำโรคต่างๆ

3. ทำให้เกิดปัญหามลพิษต่อดิน น้ำ และอากาศ

4. ทำให้เกิดเหตุรำคาญ เช่น กลิ่นเหม็นของน้ำโสโครก

5. ทำให้เกิดการสูญเสียทัศนียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เช่น สภาพน้ำที่มีสีดำคล้ำไปด้วยขยะ และสิ่งปฎิกูล

6. ทำให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสูญเสียพันธุ์ปลาบางชนิดจำนวนสัตว์น้ำลดลง

7. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศในระยะยาว

8. ทำให้สัตว์น้ำหลายชนิดเกิดการตาย ย้ายถิ่น หรืออาจสูญพันธุ์ในที่สุด

ย้อนกลับ

สร้างโดย: 
ครูพรรณนภา กำบัง,น.ส.สิรีธร หมั่นสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 419 คน กำลังออนไลน์