• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d320821375d6ae7fe9a08bef5bd0c751' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81847\"><img height=\"137\" width=\"289\" src=\"/files/u30625/page.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 226px; height: 94px\" /></a><a href=\"/node/86316\"><img height=\"182\" width=\"490\" src=\"/files/u30625/lie.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 276px; height: 100px\" /></a><br />\n \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/86317\"><img height=\"91\" width=\"218\" src=\"/files/u30625/_180043.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/86318\"><img height=\"94\" width=\"217\" src=\"/files/u30625/0444.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/86319\"><img height=\"93\" width=\"218\" src=\"/files/u30625/20416.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">        ไม้เลื้อย</span> เป็นพืชที่ไม่สามารถทรงตัวได้โดยลำพัง จึงมักเลื้อยพันต้นไม้ใหญ่หรือสิ่งพยุงเป็นที่ยึดเกาะเพื่อให้ลำต้นเจริญอยู่ได้ ธรรมชาติให้คุณสมบัติที่มีอวัยวะพิเศษช่วยในการเลื้อยเกาะและปรับตัวทอดยอด เพื่อรับแสงไม่ตีบตันหนทางเจริญเติบโต จึงทำให้มีจำนวนชนิดของไม้เลื้อยในธรรมชาติมากกว่าไม้ประเภทอื่น เช่น ผักฮวนหมู เครือตดหมา เครือหมาน้อย หมากน้ำ ผักปลังแดง ผักไซ่ หมากสามสิบกลีบ เป็นต้น<br />\n       <span style=\"color: #003366\">ลักษณะของไม้เลื้อย</span>     ไม้เลื้อยนานาพันธุ์มีลักษณะการเลื้อยและการยึดเกาะที่ต่างกัน หากสังเกตให้ดีจะพบว่ามี 3 ลักษณะ คือ <br />\n       <span style=\"color: #0000ff\">การเลื้อยพันแบบพาดพิง</span>    เป็นลักษณะการทอดเลื้อยของไม้พุ่มกึ่งเลื้อยที่ต้นแตกกิ่งก้านยาว แล้วเอนไปพาดพิงกับสิ่งพยุง เช่น โนรา เฟื่องฟ้า และสายหยุด<br />\n       <span style=\"color: #0000ff\">การเลื้อยแบบขัดสาน</span>    เมื่อใดที่ไม้เลื้อยไม่มีสิ่งพยุงมารองรัย ธรรมชาติก็จะพาลำต้นของไม้เลื้อยให้เกี่ยวพันกันเองเพื่อพยุงตัวเองขึ้นรับแสง  เช่น เล็บมือนาง<br />\n       <span style=\"color: #0000ff\">การเลื้อยพันเกาะยึดเกี่ยว</span>      โดยอาศัยอวัยวะมากมายให้การยึดเกาะมีหลายลักษณะด้วยกัน <br />\n<span style=\"color: #993366\">ประโยชน์ของไม้เลื้อย</span><br />\n       นอกจากดอกและใบที่สวยงามตามชนิดและพันธุ์แล้ว เถาหรือลำต้นของไม้เลื้อยที่ทอดตัวอย่างอ่อนช้อย ยังช่วยลดความแข็งกระด้างเมื่อนำมาปลูกตกแต่งให้เลื้อยห้อยหรือย้อยเป็นพวงตามรั้วและกำแพงบ้าน นิยมนำมาปลูกประดับซุ้มและดัดปรับตามรูปทรงที่กำหนด ให้เราได้อาศัยใบที่แน่นทึบเป็นร่มเงาช่วยพรางแสงอาทิตย์ร้อนแรงให้ลดลง บดบังสิ่งที่ไม่น่ามอง สร้างเสริมความชุ่มชื้นของสภาพแวดล้อมแก่พันธุ์ไม้ประดับบางชนิดในบริเวณโดยรอบ ช่วยดูดซับมลพิษ     อีกทั้งความอ่อนช้อยของไม้เลื้อยบางชนิดเป็นที่มาของลวดลายในโลกของงานศิลปะ\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728177841, expire = 1728264241, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d320821375d6ae7fe9a08bef5bd0c751' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ไม้เลื้อย


 

        ไม้เลื้อย เป็นพืชที่ไม่สามารถทรงตัวได้โดยลำพัง จึงมักเลื้อยพันต้นไม้ใหญ่หรือสิ่งพยุงเป็นที่ยึดเกาะเพื่อให้ลำต้นเจริญอยู่ได้ ธรรมชาติให้คุณสมบัติที่มีอวัยวะพิเศษช่วยในการเลื้อยเกาะและปรับตัวทอดยอด เพื่อรับแสงไม่ตีบตันหนทางเจริญเติบโต จึงทำให้มีจำนวนชนิดของไม้เลื้อยในธรรมชาติมากกว่าไม้ประเภทอื่น เช่น ผักฮวนหมู เครือตดหมา เครือหมาน้อย หมากน้ำ ผักปลังแดง ผักไซ่ หมากสามสิบกลีบ เป็นต้น
       ลักษณะของไม้เลื้อย     ไม้เลื้อยนานาพันธุ์มีลักษณะการเลื้อยและการยึดเกาะที่ต่างกัน หากสังเกตให้ดีจะพบว่ามี 3 ลักษณะ คือ
       การเลื้อยพันแบบพาดพิง    เป็นลักษณะการทอดเลื้อยของไม้พุ่มกึ่งเลื้อยที่ต้นแตกกิ่งก้านยาว แล้วเอนไปพาดพิงกับสิ่งพยุง เช่น โนรา เฟื่องฟ้า และสายหยุด
       การเลื้อยแบบขัดสาน    เมื่อใดที่ไม้เลื้อยไม่มีสิ่งพยุงมารองรัย ธรรมชาติก็จะพาลำต้นของไม้เลื้อยให้เกี่ยวพันกันเองเพื่อพยุงตัวเองขึ้นรับแสง  เช่น เล็บมือนาง
       การเลื้อยพันเกาะยึดเกี่ยว      โดยอาศัยอวัยวะมากมายให้การยึดเกาะมีหลายลักษณะด้วยกัน
ประโยชน์ของไม้เลื้อย
       นอกจากดอกและใบที่สวยงามตามชนิดและพันธุ์แล้ว เถาหรือลำต้นของไม้เลื้อยที่ทอดตัวอย่างอ่อนช้อย ยังช่วยลดความแข็งกระด้างเมื่อนำมาปลูกตกแต่งให้เลื้อยห้อยหรือย้อยเป็นพวงตามรั้วและกำแพงบ้าน นิยมนำมาปลูกประดับซุ้มและดัดปรับตามรูปทรงที่กำหนด ให้เราได้อาศัยใบที่แน่นทึบเป็นร่มเงาช่วยพรางแสงอาทิตย์ร้อนแรงให้ลดลง บดบังสิ่งที่ไม่น่ามอง สร้างเสริมความชุ่มชื้นของสภาพแวดล้อมแก่พันธุ์ไม้ประดับบางชนิดในบริเวณโดยรอบ ช่วยดูดซับมลพิษ     อีกทั้งความอ่อนช้อยของไม้เลื้อยบางชนิดเป็นที่มาของลวดลายในโลกของงานศิลปะ

 

สร้างโดย: 
น.ส.ศรีสวาสดิ์ บุนนาค และ น.ส.ธันย์ชนก แซ่โง้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 571 คน กำลังออนไลน์