• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:408b4792c6b29e4ff07d5cecc2768630' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"> <img height=\"195\" width=\"600\" src=\"/files/u43692/lilit_0.jpg\" border=\"0\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ลิลิต หมายถึง หนังสือที่แต่งด้วย<span style=\"color: #0645ad\">คำประพันธ์</span>ประเภท <span style=\"color: #0645ad\">โคลง</span> และ<span style=\"color: #0645ad\">ร่าย</span> สลับกันเป็นช่วงๆ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n<span style=\"background-color: #ccffff\">ตามธรรมเนียมแล้ว มักจะใช้โคลงและร่ายในแบบเดียวกัน</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\nกล่าวคือ <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #ba0000\">โคลงดั้น</span> สลับกับ<span style=\"color: #ba0000\">ร่ายดั้น</span>,</span> <span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #ba0000\">โคลงสุภาพ</span> สลับกับ<span style=\"color: #ba0000\">ร่ายสุภาพ</span></span> อย่างนี้เป็นต้น</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\nโคลงและร่ายที่สลับกันนั้น มักจะร้อยสัมผัสด้วยกัน เรียกว่า &quot;เข้าลิลิต&quot; </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">วรรณคดีที่แต่งตามแบบแผนลิลิต มักจะใช้ร่ายและโคลงสลับกันเป็นช่วงๆ </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\nตามจังหวะ ลีลา และท่วงทำนอง และความเหมาะสมของเนื้อหาในช่วงนั้นๆ </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #ccffcc; color: #0000ff\">ลิลิตที่ได้รับการยกย่องจาก<span style=\"color: #0645ad\">วรรณคดีสโมสร</span>ว่า เป็นยอดของโคลงลิลิต คือ <span style=\"color: #0645ad\">ลิลิตพระลอ</span> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">ความเป็นมาของลิลิต ไม่ปรากฏแน่ชัด </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\"><strong>โ</strong><strong>ดยสืบค้นได้เก่าสุดถึงสมัยอยุธยา ได้แก่ <span style=\"color: #0645ad\">ลิลิตยวนพ่าย</span> และ<span style=\"color: #0645ad\">ลิลิตพระลอ</span> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">(สำหรับอายุของลิลิตพระลอยังเป็นที่ถกเถียง ยังไม่ยุติ) </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"> แต่ถ้าจะนับอย่างธรรมเนียมลิลิตแล้ว น่าจะมีเพียงลิลิตพระลอ เพียงเรื่องเดียวเท่านั้น </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #00ccff\">เนื่องจากในยวนพ่ายนั้น มีร่ายนำ 1 บท แล้วมีร่ายแทรกตอนปลายๆ (ไม่ใช่ท้ายเรื่อง) </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #00ccff\">กลางเรื่องอีก 1 บทเท่านั้น ส่วน</span><span style=\"background-color: #99ccff\">ลิลิตพระลอนั้น แต่งด้วยร่ายสุภาพและโคลงสุภาพอย่างหลากหลาย สลับเป็นช่วงๆ </span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #99ccff; color: #0000ff\"> มีทั้ง<span style=\"color: #ba0000\">โคลงสองสุภาพ</span> <span style=\"color: #ba0000\">โคลงสามสุภาพ</span> และ<span style=\"color: #0645ad\">โคลงสี่สุภาพ</span> นอกจากนี้ยังมี<span style=\"color: #ba0000\">ร่ายสอดสร้อย</span>อีกด้วย </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">สำหรับ<span style=\"color: #0645ad\">โองการแช่งน้ำ</span> แม้จะเคยเรียกกันว่า ลิลิตโองการแช่งน้ำ มาก่อน </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">แต่ในภายหลัง นักวรรณคดีส่วนใหญ่สมัครใจที่จะเรียกชื่อโดยไม่มีคำว่าลิลิต </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">ทั้งๆ ที่ในโองการแช่งน้ำ ก็แต่งด้วยร่ายสลับโคลง ทว่าเป็นร่ายโบราณ สลับกับโคลงห้า </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #3366ff\">ซึ่งไม่ปรากฏแบบแผนที่ไหนมาก่อน </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\">เป็นที่น่าสังเกตว่า <span style=\"color: #ba0000\">นิราศคำโคลง</span> หรือที่เรียกชื่อขึ้นต้นด้วย &quot;โคลงนิราศ&quot; ในสมัยส่วนใหญ่ </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\"> จะขึ้นต้นด้วยร่ายนำ 1 บทเสมอ เช่น <span style=\"color: #0645ad\">นิราศนรินทร์</span> <span style=\"color: #0645ad\">นิราศพระยาตรัง</span> <span style=\"color: #0645ad\">โคลงทวาทศมาส</span> </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #008080\">แต่มิได้เรียกว่าลิลิตแต่อย่างใด </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">วรรณคดีที่เรียกว่าลิลิตจำนวนหนึ่ง จึงเป็นเพียงวรรณกรรม คำโคลง ที่มีร่ายนำเท่านั้น </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">นอกจากลิลิตยวนพ่ายแล้ว ยังมี<span style=\"color: #ba0000\">ลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง</span> มีร่ายนำเพียงหนึ่งบท </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ลิลิตเป็นแบบแผนคำประพันธ์ที่มีผู้นิยมแต่งเสมอมา แม้จนปัจจุบัน </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">เนื่องจากสามารถเปลี่ยนลีลาอารมณ์ของบบร้อยกรองได้ อย่างไรก็ตาม </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #0000ff\">ในปัจจุบันการส่งสัมผัสระหว่างบท หรือ &quot;เข้าลิลิต&quot; นั้นไม่ถือเคร่งครัดนัก </span></strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83532\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 122px; height: 58px\" /></a><a href=\"/node/84603\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/gap.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 119px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84600\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klon.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/83547\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/klong.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 127px; height: 59px\" /></a><a href=\"/node/84615\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/chant.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 129px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/84594\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/ray.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 126px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84599\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/lilit.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 60px\" /></a><a href=\"/node/84623\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/kolbot.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 120px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84691\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/aa.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 125px; height: 61px\" /></a><a href=\"/node/84692\"><img height=\"89\" width=\"250\" src=\"/files/u43692/me.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 128px; height: 59px\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1728199803, expire = 1728286203, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:408b4792c6b29e4ff07d5cecc2768630' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลิลิต

 

ลิลิต หมายถึง หนังสือที่แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท โคลง และร่าย สลับกันเป็นช่วงๆ


ตามธรรมเนียมแล้ว มักจะใช้โคลงและร่ายในแบบเดียวกัน


กล่าวคือ โคลงดั้น สลับกับร่ายดั้น, โคลงสุภาพ สลับกับร่ายสุภาพ อย่างนี้เป็นต้น


โคลงและร่ายที่สลับกันนั้น มักจะร้อยสัมผัสด้วยกัน เรียกว่า "เข้าลิลิต"

วรรณคดีที่แต่งตามแบบแผนลิลิต มักจะใช้ร่ายและโคลงสลับกันเป็นช่วงๆ 


ตามจังหวะ ลีลา และท่วงทำนอง และความเหมาะสมของเนื้อหาในช่วงนั้นๆ

ลิลิตที่ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดของโคลงลิลิต คือ ลิลิตพระลอ

ความเป็นมาของลิลิต ไม่ปรากฏแน่ชัด

ดยสืบค้นได้เก่าสุดถึงสมัยอยุธยา ได้แก่ ลิลิตยวนพ่าย และลิลิตพระลอ

(สำหรับอายุของลิลิตพระลอยังเป็นที่ถกเถียง ยังไม่ยุติ)

 แต่ถ้าจะนับอย่างธรรมเนียมลิลิตแล้ว น่าจะมีเพียงลิลิตพระลอ เพียงเรื่องเดียวเท่านั้น

เนื่องจากในยวนพ่ายนั้น มีร่ายนำ 1 บท แล้วมีร่ายแทรกตอนปลายๆ (ไม่ใช่ท้ายเรื่อง)

กลางเรื่องอีก 1 บทเท่านั้น ส่วนลิลิตพระลอนั้น แต่งด้วยร่ายสุภาพและโคลงสุภาพอย่างหลากหลาย สลับเป็นช่วงๆ

 มีทั้งโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ นอกจากนี้ยังมีร่ายสอดสร้อยอีกด้วย

สำหรับโองการแช่งน้ำ แม้จะเคยเรียกกันว่า ลิลิตโองการแช่งน้ำ มาก่อน

แต่ในภายหลัง นักวรรณคดีส่วนใหญ่สมัครใจที่จะเรียกชื่อโดยไม่มีคำว่าลิลิต

ทั้งๆ ที่ในโองการแช่งน้ำ ก็แต่งด้วยร่ายสลับโคลง ทว่าเป็นร่ายโบราณ สลับกับโคลงห้า

ซึ่งไม่ปรากฏแบบแผนที่ไหนมาก่อน

เป็นที่น่าสังเกตว่า นิราศคำโคลง หรือที่เรียกชื่อขึ้นต้นด้วย "โคลงนิราศ" ในสมัยส่วนใหญ่

 จะขึ้นต้นด้วยร่ายนำ 1 บทเสมอ เช่น นิราศนรินทร์ นิราศพระยาตรัง โคลงทวาทศมาส

แต่มิได้เรียกว่าลิลิตแต่อย่างใด

วรรณคดีที่เรียกว่าลิลิตจำนวนหนึ่ง จึงเป็นเพียงวรรณกรรม คำโคลง ที่มีร่ายนำเท่านั้น

นอกจากลิลิตยวนพ่ายแล้ว ยังมีลิลิตพยุหยาตราเพชรพวง มีร่ายนำเพียงหนึ่งบท

ลิลิตเป็นแบบแผนคำประพันธ์ที่มีผู้นิยมแต่งเสมอมา แม้จนปัจจุบัน

เนื่องจากสามารถเปลี่ยนลีลาอารมณ์ของบบร้อยกรองได้ อย่างไรก็ตาม

ในปัจจุบันการส่งสัมผัสระหว่างบท หรือ "เข้าลิลิต" นั้นไม่ถือเคร่งครัดนัก

สร้างโดย: 
ชุติภัทร์และคุณครูยุวดี

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 478 คน กำลังออนไลน์