• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:bfd88a966e6f1bbec429c7578ffe262c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n       <img height=\"209\" width=\"600\" src=\"/files/u30660/kumkidgubpasa.jpg\" alt=\"ความคิดกับภาษา\" border=\"0\" />       \n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/83368\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/lakpasatahig_0.jpg\" alt=\"หลักภาษาไทย\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83977\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/kumkidgabpasads_0.jpg\" alt=\"ความคิดกับภาษา\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/83979\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/kumandmunmaij_0.jpg\" alt=\"คำและความหมาย\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/84020\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/kansisans_0.jpg\" alt=\"การสื่อสาร\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/84030\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/wannakadeee_0_0.jpg\" alt=\"วรรณคดี\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/85003\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/langangingg_0_0.jpg\" alt=\"แหล่งอ้างอิง\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/84116\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/pujadtumd_0.jpg\" alt=\"ผู้จัดทำ\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/86052\" title=\"แบบฝึกหัด\"><img height=\"50\" width=\"151\" src=\"/files/u40864/baba5_0_0.jpg\" alt=\"แบบฝึกหัด\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<p align=\"center\">\n<img height=\"81\" width=\"109\" src=\"/files/u40864/8741.gif\" border=\"0\" style=\"width: 87px; height: 63px\" /><img height=\"81\" width=\"109\" src=\"/files/u40864/8741.gif\" border=\"0\" style=\"width: 87px; height: 63px\" />  \n</p>\n</div>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"340\" width=\"352\" src=\"/files/u30660/kim.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 283px; height: 198px\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\">แหล่งที่มาของภาพ</span> </strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #0000ff\">http://www.thaigoodview.com/files/u30660/kim.jpg</span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ความคิดกับภาษา</span></span></span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><strong><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></strong></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">     <span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\">ภาษามาตรฐาน = ภาษาที่เราใช้คิดต่อกันทั่วไป เป็นที่เข้าใจกัน</span></span></span><br />\n</span><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">     ภาษาถิ่น = ภาษาที่ใช้กันเฉพาะท้องถิ่น</span><br />\n<span lang=\"TH\">     ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล = คำพูดแสดงบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคน</span><br />\n<span lang=\"TH\">     ภาษาช่วยจรรโลงใจ = คำพูที่ทำให้เราสบายใจ รู้สึกดี</span><br />\n<span lang=\"TH\">     ภาษามีอิทธิพล เช่น เราชอบปลูกต้นไม้ชื่อความหมายดีไว้ในบ้าน(เช่นเงินไหลมา ทองไหลมา)</span></span></span></span></span></span><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">วิธีคิด</span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #99ccff\">     <span style=\"color: #0000ff\">วิเคราะห์   = คิดแบบ &quot;แยกแยะ&quot; คิดพิจารณาให้ละเอียดลึกซึ้ง </span></span></span></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">     สังเคราะห์ = คิดแบบ&quot;รวบรวม&quot; รวมความคิดเห็นหลาย ๆ แง่มุมขึ้นมา</span><br />\n<span lang=\"TH\">     ประเมินค่า = คิดแบบ&quot;ตัดสินคุณค่า&quot;ว่าดีด ไม่ดี สวย ไม่สวย</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">ภาษากับเหตุผล</span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">    <span style=\"color: #0000ff\">โครงสร้างของเหตุผล</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">   1. เหตุ = สาเหตุ ข้อสนับสนุน เหตุผล</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">   2. ผล  = ผลลัพธ์ ข้อสรุป</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><span lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">การวางโครงสร้างของเหตุผล</span></span></span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">    แบบ 1 เหตุมาก่อนผล สังเกตจากคำเชื่อม &quot;ดังนั้น ก็เลย จึง เพราะฉะนั้น&quot;</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">    แบบ 2 ผลมาก่อนเหตุ สังเกตจากคำเชื่อม &quot;เพราะ เนื่องจาก ด้วย &quot; </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99ccff\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"color: #99ccff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><strong><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\">วิธีการให้เหตุผล</span></span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\"><strong>     </strong>1. นิรนัย = แบบที่ผลลัพธ์ &quot;แน่นอน&quot; มันจะเป็นเรื่องจริง หรือสัจธรรม</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">            เช่น คนเราเกิดมาต้องตาย</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">     2. อุปนัย = แบบที่ผลลัพธ์ &quot;ไม่เห็นจำเป็นต้องเป็นอย่างนั้นเลย&quot; (ยังไม่แน่)</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\">            เช่น รุ่นพี่เราเอนท์ติดกันเยอะมาก รุ่นเราคงจะเป็นอย่างนั้น</span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #0000ff\"></span></span></span></span><span style=\"color: #99ccff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"><strong><span style=\"color: #0000ff\">การอนุมานเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน</span></strong></span></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><span style=\"background-color: #ccffff; color: #3366ff\"></span></span><br />\n     </span><span style=\"color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\">1.<span lang=\"TH\">แยกออกมาก่อนว่าส่วนใดเป็นเหตุ ส่วนใดเป็นผล</span><br />\n     2.<span lang=\"TH\">ดูต่อไปว่าส่วนที่เราแยก ส่วนใดเรารู้ ส่วนไหนเราคาด</span><br />\n     3.<span lang=\"TH\">คำตอบของการอนุมานจะเขียนจากสิ่งที่เรารู้ไปหาสิ่งที่เราคาด</span><br />\n         <span lang=\"TH\">เรารู้สาเหตุคาดผล เรียกว่า อนุมานจากสาเหตุ(รู้)ไปหาผลลัพธ์(คาด) </span><span lang=\"TH\">เช่น</span><br />\n         -<span lang=\"TH\">เขาน่าจะอ้วนขั้น เขากินเก่งทั้งวัน</span><br />\n    1.<span lang=\"TH\">ผล - เหตุ</span><br />\n    2.(<span lang=\"TH\">น่าจะ)เราคาด - เรารู้</span><br />\n    3.<span lang=\"TH\">อนุมานจากสิ่งที่เรารู้(เหตุ)ไปสิ่งที่เราคาด(ผล) ข้อนี้เรารู้&quot;เหตุ&quot; แล้วคาด&quot;ผล&quot; จึงเป็นการอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ์</span><br />\n         -<span lang=\"TH\">เขาน้ำหนักลด เพราะเขาไม่ค่อยกินข้าว ร่างกายคงไม่แข็งแรง</span><br />\n    1. <span lang=\"TH\">ผล-เหตุ-ผล</span><br />\n    2. <span lang=\"TH\">รู้ - คาด</span><br />\n    3.<span lang=\"TH\">อนุมานจากผลไปหาผล</span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #00ccff\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: large\"></span></span></span></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #00ccff\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span></span><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><span style=\"background-color: #ffffff; color: #00ccff\"><span style=\"color: #3366ff\"></span></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; background: #ccffff; color: #2b3220; font-size: 11pt\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><a href=\"/node/81942\" title=\"HOME\"><img height=\"82\" width=\"108\" src=\"/files/u40864/aa70.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" border=\"0\" style=\"width: 112px; height: 89px\" /></a><a href=\"/node/83977\" title=\"กลับสู่หัวข้อหลัก\"><img height=\"160\" width=\"147\" src=\"/files/u40864/th_bgns864.gif\" border=\"0\" style=\"width: 58px; height: 48px\" /></a></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p></strong>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1720386352, expire = 1720472752, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:bfd88a966e6f1bbec429c7578ffe262c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความคิดกับภาษา

       ความคิดกับภาษา       
หลักภาษาไทยความคิดกับภาษาคำและความหมายการสื่อสาร วรรณคดีแหล่งอ้างอิงผู้จัดทำแบบฝึกหัด

  

 

แหล่งที่มาของภาพ 

 http://www.thaigoodview.com/files/u30660/kim.jpg

ความคิดกับภาษา


     ภาษามาตรฐาน = ภาษาที่เราใช้คิดต่อกันทั่วไป เป็นที่เข้าใจกัน
     ภาษาถิ่น = ภาษาที่ใช้กันเฉพาะท้องถิ่น
     ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล = คำพูดแสดงบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคน
     ภาษาช่วยจรรโลงใจ = คำพูที่ทำให้เราสบายใจ รู้สึกดี
     ภาษามีอิทธิพล เช่น เราชอบปลูกต้นไม้ชื่อความหมายดีไว้ในบ้าน(เช่นเงินไหลมา ทองไหลมา)


วิธีคิด

     วิเคราะห์   = คิดแบบ "แยกแยะ" คิดพิจารณาให้ละเอียดลึกซึ้ง 
     สังเคราะห์ = คิดแบบ"รวบรวม" รวมความคิดเห็นหลาย ๆ แง่มุมขึ้นมา
     ประเมินค่า = คิดแบบ"ตัดสินคุณค่า"ว่าดีด ไม่ดี สวย ไม่สวย


ภาษากับเหตุผล

    โครงสร้างของเหตุผล

   1. เหตุ = สาเหตุ ข้อสนับสนุน เหตุผล

   2. ผล  = ผลลัพธ์ ข้อสรุป


การวางโครงสร้างของเหตุผล

    แบบ 1 เหตุมาก่อนผล สังเกตจากคำเชื่อม "ดังนั้น ก็เลย จึง เพราะฉะนั้น"

    แบบ 2 ผลมาก่อนเหตุ สังเกตจากคำเชื่อม "เพราะ เนื่องจาก ด้วย "


วิธีการให้เหตุผล

     1. นิรนัย = แบบที่ผลลัพธ์ "แน่นอน" มันจะเป็นเรื่องจริง หรือสัจธรรม

            เช่น คนเราเกิดมาต้องตาย

     2. อุปนัย = แบบที่ผลลัพธ์ "ไม่เห็นจำเป็นต้องเป็นอย่างนั้นเลย" (ยังไม่แน่)

            เช่น รุ่นพี่เราเอนท์ติดกันเยอะมาก รุ่นเราคงจะเป็นอย่างนั้น


การอนุมานเหตุและผลที่สัมพันธ์กัน


    
1.แยกออกมาก่อนว่าส่วนใดเป็นเหตุ ส่วนใดเป็นผล
     2.ดูต่อไปว่าส่วนที่เราแยก ส่วนใดเรารู้ ส่วนไหนเราคาด
     3.คำตอบของการอนุมานจะเขียนจากสิ่งที่เรารู้ไปหาสิ่งที่เราคาด
         เรารู้สาเหตุคาดผล เรียกว่า อนุมานจากสาเหตุ(รู้)ไปหาผลลัพธ์(คาด) เช่น
         -เขาน่าจะอ้วนขั้น เขากินเก่งทั้งวัน
    1.ผล - เหตุ
    2.(น่าจะ)เราคาด - เรารู้
    3.อนุมานจากสิ่งที่เรารู้(เหตุ)ไปสิ่งที่เราคาด(ผล) ข้อนี้เรารู้"เหตุ" แล้วคาด"ผล" จึงเป็นการอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ์
         -เขาน้ำหนักลด เพราะเขาไม่ค่อยกินข้าว ร่างกายคงไม่แข็งแรง
    1. ผล-เหตุ-ผล
    2. รู้ - คาด
    3.อนุมานจากผลไปหาผล

 

กลับสู่หน้าหลัก

 

สร้างโดย: 
ครูศรีสวาสดิ์ บุนนาค กับนางสาว สุพิรญาณ์ ตั้งกมลเลิศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์