• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:991dc195e91cd20d86561a41bbe67c95' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n <img height=\"300\" width=\"600\" src=\"/files/u40860/head-vivat.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/83256\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/kuammai_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/83257\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/vivattanakan_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/83260\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/chantaluk_2.jpg\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/83278\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/prapet_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/83503\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/langargeing_2.jpg\" /></a> <a href=\"/node/83504\"><img height=\"60\" width=\"200\" src=\"/files/u31500/phujadtam_2.jpg\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #658b0d\"><u><b>วัฒนาการร้อยกรองไทย</b></u></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n<span style=\"color: #e26c08\"><b>ร้อยกรองสมัยสุโขทัย </b><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๑. การปรากฏของร้อยกรองสมัยสุโขทัย<br />\nการปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวถึงการละเล่นในสมัยนั้นว่า ” …เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน..” ในสมัยสุโขทัยนี้มีการขับอยู่แล้วและถ้อยคำที่นำมาขับนั้นย่อมมีรูปแบบเฉพาะ หรือไม่มีรูปแบบ แต่อาศัยจังหวะการเอื้อนทอดเสียงให้ไพเราะ มีสัมผัสคล้องจองกันตามแบบฉบับร้อยกรองไทย ซึ่งก่อนหน้านั้นมีเพลงพื้นบ้าน ทำนองต่างๆเกิดขึ้นมาก่อนก็ได้ แสดงว่าร้อยกรองของไทยเกิดขึ้นแล้วก่อนสมัยสุโขทัย<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๒. รูปแบบของร้อยกรองสมัยสุโขทัย <br />\nจะมีรูปแบบคำประพันธ์ที่ไม่ชัดเชน แต่จะมีบางวรรคที่ร้อยสัมผัสในลักษณะร้อยกรอง เช่น …เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว… หรือออกมาในรูปของการเล่นคำซ้ำ เช่น …เบื้องตะวันออกเมืองสุโขทัยนี้ มีพิหาร มีปู่ครู มีทะเลหลวง มีป่าหมากป่าพลู มีไร่มีนา… เพราะฉะนั้นจึงน่าจะสรุปได้ว่าร้อยกรองที่ปรากฏในสมัยโบราณและสมัยสุโขทัยนั้นยังไม่มีรูปแบบที่แน่นอน แต่ก็ถือได้ว่ามีคำร้อยกรองของไทยเกิดขึ้น และถ่ายทอดกันในรูปแบบของเพลงพื้นบ้าน</span> <br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.<br />\n.</span> <br />\n<span style=\"color: #a3099d\"><b>ร้อยกรองสมัยกรุงศรีอยุธยา</b><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๑. การปรากฏของร้อยกรองสมัยกรุงศรีอยุธยา<br />\nร้อยกรองสมัยนี้จะปรากฏในวรรณคดีเป็นส่วนมาก แต่สูญไปบ้างในระหว่างสงครามก็ได้ ซึ่งยังพอมีหลักฐานในการร้อยกรองในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ๒ ระยะ ได้แก่<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๑.๑ <u>สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น</u> (พ.ศ.๑๘๙๓ – ๒๑๗๑) ปรากฏร้อยกรอง ดังนี้<br />\n<i>ลิลิต</i> คือ บทร้อยกรองที่ใช้โคลงและร่ายแต่งปะปนกัน เช่น ลิลิตโองการแช่งน้ำ ลิลิตยวนพ่าย<br />\n<i>โคลง</i> นิยมแต่งเป็นโคลงดั้น เช่น ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคำหลวง ส่วนโคลงสุภาพมีในมหาชาติคำหลวงและลิลิตพระลอ<br />\n<i>ฉันท์ </i>ปะปนในมหาชาติคำหลวงหลายบท<br />\n<i>กาพย์ </i>เช่นเดียวกับฉันท์ <br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๑.๒ <u>สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย</u> (พ.ศ.๒๑๗๑ – ๒๓๑๐) ปรากฏร้อยกรองทุกประเภท ดังนี้<br />\n<i>โคลง</i> นิยมมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น โคลงพาลีสอนน้อง โคลงทศรถสอนพระราม กาพย์ห่อโคลงของพระศรีมโหสถ<br />\n<i>ฉันท์</i> ใช้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่ สมุทรโฆษคำฉันท์ อนิรุทธ์คำฉันท์ คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง เป็นต้น<br />\n<i>กาพย์</i> นอกจากนิยมแต่งกับฉันท์แล้ว ยังนิยมแต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง กาพย์เห่เรือ ซึ่งเป็นลักษณะของการแต่งโคลงปนกาพย์ ปรากฏในกาพย์ห่อโคลงเรื่องต่างๆ กาพย์ห่อโคลงประพาสทองแดง กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร เป็นต้น<br />\n<i>กลอน</i> ปรากฏในรูปของกลอนเพลงยาวต่างๆ เช่น เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เพลงยาวเจ้าฟ้ากุ้ง บทละครครั้งกรุงเก่า เป็นต้น<br />\n<i>ร่ายและลิลิต </i>มีแต่คำประพันธ์ประเภทร่ายยาว ที่ปรากฏในนันดทปนันทสูตรคำหลวงและร่ายโบราณในพระมาลัยคำหลวงเท่านั้น<br />\n<i>กลบท</i> ในกลบทสิริวิบุลกิติ์และจินดามณี<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๒. รูปแบบ<br />\nมิได้เคร่งครัดในฉันทลักษณ์เท่าใดนัก แต่จะเน้นจังหวะและเสียงเป็นสำคัญ<br />\nจึงต้องสังเกตจากสำนวนและการแบ่งวรรคตอน เช่น<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n                                             นกหกต่างรวงรัง             และประนังบังเหิรโหย<br />\n                                      พากันกระสันโบย                   บัตรเรียกมารังเรียง<br />\n                                                                                          (สมุทรโฆษคำฉันท์)</span><br />\n<span style=\"color: #a3099d\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\nจะเห็นได้ว่าในคำบังคับของฉันท์นั้น กวีถือเสียงเป็นสำคัญ จึงต้องสังเกตโดยมิได้คำนึงถึงรูปฉันทลักษณ์เท่าใดนัก แต่ทั้งนี้คำที่อยู่ในลหุจะอ่านเป็นเสียงเบาทั้งสิ้น </span></p>\n<p><span style=\"color: #ffffff\">.</span> <br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n<span style=\"color: #1c70c4\"><b>ร้อยกรองสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินตอนต้น</b><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๑. การปรากฏของร้อยกรอง <br />\nในสมัยนี้ร้อยกรองไทยมีปรากฏในวรรณคดีต่างๆ เช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา แยกประเภทได้ ดังนี้<br />\n๑.๑ โคลง มีแทรกอยู่ในลิลิตต่างๆ เช่นลิลิตเพชรมงกุฎ ลิลิตตะเลงพ่าย หรือลักษณะที่เป็นโคลงล้วน เช่น โคลงนิราศนรินทร์ นิราศสุพรรณและโคลงโลกนิติ เป็นต้น<br />\n๑.๒ ฉันท์ เช่น อิเหนาคำฉันท์ กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนปลาย และมีตำราการแต่งฉันท์ขึ้นมาเป็นครั้งแรก<br />\n๑.๓ กาพย์ มีปรากฏแทรกอยู่ในคำฉันท์สมัยกรุงธนบุรีบ้าง ส่วนสมัยรัตนโกสินทร์ ก็มีกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน กาพย์พระไชยสุริยา เป็นต้น<br />\n๑.๔ กลอน ได้รับความนิยมสูงสุดมีทั้งที่แต่งเป็นนิทานคำกลอนและบทละคร เช่น รามเกียรติ์พระเจ้ากรุงธนบุรี รามเกียรติ์รัชกาลที่ ๑ บทละครเรื่องอิเหนา เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี กลอนนิราศต่างๆ<br />\n๑.๕ ร่ายและลิลิต เช่น ลิลิตเพชรมงกุฎ ลิลิตตะเลงพ่าย<br />\n๑.๖ กลบท ปรากฏมากในประชุมจารึกวัดพระเชตุพน และปรากฏเป็นบางส่วนในกาพย์พระไชยสุริยา<br />\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span><br />\n๒. รูปแบบ จะเป็นไปตามบทบัญญัติและลักษณะบังคับโดยเคร่งครัดทุกชนิด เช่น<br />\n๒.๑ โคลง ถือตามแบบฉบับของลิลิตพระลอว่าเป็นแบบที่ถูกต้อง โดยมีการอนุโลมให้ใช้คำตาย คำเอกโทษและโทโทษได้<br />\n๒.๒ ฉันท์ มีการแต่งตำราฉันท์มาตราพฤติและวรรพฤติของกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส โดยคำฉันท์แต่ละชนิดได้กำหนดคณะให้เป็นรูปแบบได้<br />\n๒.๓ กาพย์ มีการพลิกแพลงหรือดัดแปลงให้เป็นกาพย์กลอนที่มีลีลาที่แพรวพราวไปบ้าง เพิ่มสัมผัสระหว่างวรรคมากขึ้น<br />\n๒.๔ กลอน รูปแบบของกลอนสุนทรภู่ที่มีรูปแบบสวยงามและมีลีลาไพเราะที่สุด<br />\n๒.๕ ร่ายและลิลิต เจ้าพระยาพระคลัง(หน) ได้กำหนดรูปแบบของลิลิตขึ้นใหม่ในลิลิตพระมงกุฎ ซึ่งก็ยึดถือตามกันมา<br />\n๒.๖ กลบทและคำประพันธ์รูปแบบใหม่ ได้มีการคิดรูปแบบกลบทและคำประพันธ์รูปแบบใหม่ขึ้นหลายชิ้น มีการฟื้นฟูเพลงพื้นบ้านและการละเล่นมากมาย<br />\n๒.๗ คำสร้อย คือ คำที่เติมท้ายวรรคเพื่อเอื้อนเสียงให้ไพเราะ เพิ่มความสมบูรณ์ของข้อความ ใช้ในโคลงและร่าย ได้แก่คำว่า พี่เอย สูงเอย นาพ่อ น้องนอ หนึ่งรา ก็ดี ฤๅแม่ ฤๅพ่อ เป็นต้น </span><br />\n<span style=\"color: #ffffff\">. <br />\n. </span>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/81943\"><img height=\"153\" width=\"178\" src=\"/files/u31500/HOME.jpg\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n                                                                                                               <a href=\"/node/83259\"><img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u31500/next.jpg\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728206254, expire = 1728292654, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:991dc195e91cd20d86561a41bbe67c95' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

3 วิวัฒน์๑

 
.
.
.
.
วัฒนาการร้อยกรองไทย


.
ร้อยกรองสมัยสุโขทัย
.
๑. การปรากฏของร้อยกรองสมัยสุโขทัย
การปรากฏข้อความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ กล่าวถึงการละเล่นในสมัยนั้นว่า ” …เสียงพาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื่อน เสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื่อน เลื่อน..” ในสมัยสุโขทัยนี้มีการขับอยู่แล้วและถ้อยคำที่นำมาขับนั้นย่อมมีรูปแบบเฉพาะ หรือไม่มีรูปแบบ แต่อาศัยจังหวะการเอื้อนทอดเสียงให้ไพเราะ มีสัมผัสคล้องจองกันตามแบบฉบับร้อยกรองไทย ซึ่งก่อนหน้านั้นมีเพลงพื้นบ้าน ทำนองต่างๆเกิดขึ้นมาก่อนก็ได้ แสดงว่าร้อยกรองของไทยเกิดขึ้นแล้วก่อนสมัยสุโขทัย
.
๒. รูปแบบของร้อยกรองสมัยสุโขทัย
จะมีรูปแบบคำประพันธ์ที่ไม่ชัดเชน แต่จะมีบางวรรคที่ร้อยสัมผัสในลักษณะร้อยกรอง เช่น …เมืองสุโขทัยนี้ดี ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว… หรือออกมาในรูปของการเล่นคำซ้ำ เช่น …เบื้องตะวันออกเมืองสุโขทัยนี้ มีพิหาร มีปู่ครู มีทะเลหลวง มีป่าหมากป่าพลู มีไร่มีนา… เพราะฉะนั้นจึงน่าจะสรุปได้ว่าร้อยกรองที่ปรากฏในสมัยโบราณและสมัยสุโขทัยนั้นยังไม่มีรูปแบบที่แน่นอน แต่ก็ถือได้ว่ามีคำร้อยกรองของไทยเกิดขึ้น และถ่ายทอดกันในรูปแบบของเพลงพื้นบ้าน

.
.

ร้อยกรองสมัยกรุงศรีอยุธยา
.
๑. การปรากฏของร้อยกรองสมัยกรุงศรีอยุธยา
ร้อยกรองสมัยนี้จะปรากฏในวรรณคดีเป็นส่วนมาก แต่สูญไปบ้างในระหว่างสงครามก็ได้ ซึ่งยังพอมีหลักฐานในการร้อยกรองในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ๒ ระยะ ได้แก่
.
๑.๑ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.๑๘๙๓ – ๒๑๗๑) ปรากฏร้อยกรอง ดังนี้
ลิลิต คือ บทร้อยกรองที่ใช้โคลงและร่ายแต่งปะปนกัน เช่น ลิลิตโองการแช่งน้ำ ลิลิตยวนพ่าย
โคลง นิยมแต่งเป็นโคลงดั้น เช่น ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคำหลวง ส่วนโคลงสุภาพมีในมหาชาติคำหลวงและลิลิตพระลอ
ฉันท์ ปะปนในมหาชาติคำหลวงหลายบท
กาพย์ เช่นเดียวกับฉันท์
.
๑.๒ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.๒๑๗๑ – ๒๓๑๐) ปรากฏร้อยกรองทุกประเภท ดังนี้
โคลง นิยมมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เช่น โคลงพาลีสอนน้อง โคลงทศรถสอนพระราม กาพย์ห่อโคลงของพระศรีมโหสถ
ฉันท์ ใช้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ได้แก่ สมุทรโฆษคำฉันท์ อนิรุทธ์คำฉันท์ คำฉันท์ดุษฎีสังเวยกล่อมช้าง เป็นต้น
กาพย์ นอกจากนิยมแต่งกับฉันท์แล้ว ยังนิยมแต่งเป็นกาพย์ห่อโคลง กาพย์เห่เรือ ซึ่งเป็นลักษณะของการแต่งโคลงปนกาพย์ ปรากฏในกาพย์ห่อโคลงเรื่องต่างๆ กาพย์ห่อโคลงประพาสทองแดง กาพย์เห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร เป็นต้น
กลอน ปรากฏในรูปของกลอนเพลงยาวต่างๆ เช่น เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา เพลงยาวเจ้าฟ้ากุ้ง บทละครครั้งกรุงเก่า เป็นต้น
ร่ายและลิลิต มีแต่คำประพันธ์ประเภทร่ายยาว ที่ปรากฏในนันดทปนันทสูตรคำหลวงและร่ายโบราณในพระมาลัยคำหลวงเท่านั้น
กลบท ในกลบทสิริวิบุลกิติ์และจินดามณี
.
๒. รูปแบบ
มิได้เคร่งครัดในฉันทลักษณ์เท่าใดนัก แต่จะเน้นจังหวะและเสียงเป็นสำคัญ
จึงต้องสังเกตจากสำนวนและการแบ่งวรรคตอน เช่น
.
                                             นกหกต่างรวงรัง             และประนังบังเหิรโหย
                                      พากันกระสันโบย                   บัตรเรียกมารังเรียง
                                                                                          (สมุทรโฆษคำฉันท์)

.
จะเห็นได้ว่าในคำบังคับของฉันท์นั้น กวีถือเสียงเป็นสำคัญ จึงต้องสังเกตโดยมิได้คำนึงถึงรูปฉันทลักษณ์เท่าใดนัก แต่ทั้งนี้คำที่อยู่ในลหุจะอ่านเป็นเสียงเบาทั้งสิ้น

.
.
ร้อยกรองสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินตอนต้น
.
๑. การปรากฏของร้อยกรอง
ในสมัยนี้ร้อยกรองไทยมีปรากฏในวรรณคดีต่างๆ เช่นเดียวกับสมัยกรุงศรีอยุธยา แยกประเภทได้ ดังนี้
๑.๑ โคลง มีแทรกอยู่ในลิลิตต่างๆ เช่นลิลิตเพชรมงกุฎ ลิลิตตะเลงพ่าย หรือลักษณะที่เป็นโคลงล้วน เช่น โคลงนิราศนรินทร์ นิราศสุพรรณและโคลงโลกนิติ เป็นต้น
๑.๒ ฉันท์ เช่น อิเหนาคำฉันท์ กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ สมุทรโฆษคำฉันท์ตอนปลาย และมีตำราการแต่งฉันท์ขึ้นมาเป็นครั้งแรก
๑.๓ กาพย์ มีปรากฏแทรกอยู่ในคำฉันท์สมัยกรุงธนบุรีบ้าง ส่วนสมัยรัตนโกสินทร์ ก็มีกาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวาน กาพย์พระไชยสุริยา เป็นต้น
๑.๔ กลอน ได้รับความนิยมสูงสุดมีทั้งที่แต่งเป็นนิทานคำกลอนและบทละคร เช่น รามเกียรติ์พระเจ้ากรุงธนบุรี รามเกียรติ์รัชกาลที่ ๑ บทละครเรื่องอิเหนา เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน พระอภัยมณี กลอนนิราศต่างๆ
๑.๕ ร่ายและลิลิต เช่น ลิลิตเพชรมงกุฎ ลิลิตตะเลงพ่าย
๑.๖ กลบท ปรากฏมากในประชุมจารึกวัดพระเชตุพน และปรากฏเป็นบางส่วนในกาพย์พระไชยสุริยา
.
๒. รูปแบบ จะเป็นไปตามบทบัญญัติและลักษณะบังคับโดยเคร่งครัดทุกชนิด เช่น
๒.๑ โคลง ถือตามแบบฉบับของลิลิตพระลอว่าเป็นแบบที่ถูกต้อง โดยมีการอนุโลมให้ใช้คำตาย คำเอกโทษและโทโทษได้
๒.๒ ฉันท์ มีการแต่งตำราฉันท์มาตราพฤติและวรรพฤติของกรมสมเด็จพระปรมานุชิตชิโนรส โดยคำฉันท์แต่ละชนิดได้กำหนดคณะให้เป็นรูปแบบได้
๒.๓ กาพย์ มีการพลิกแพลงหรือดัดแปลงให้เป็นกาพย์กลอนที่มีลีลาที่แพรวพราวไปบ้าง เพิ่มสัมผัสระหว่างวรรคมากขึ้น
๒.๔ กลอน รูปแบบของกลอนสุนทรภู่ที่มีรูปแบบสวยงามและมีลีลาไพเราะที่สุด
๒.๕ ร่ายและลิลิต เจ้าพระยาพระคลัง(หน) ได้กำหนดรูปแบบของลิลิตขึ้นใหม่ในลิลิตพระมงกุฎ ซึ่งก็ยึดถือตามกันมา
๒.๖ กลบทและคำประพันธ์รูปแบบใหม่ ได้มีการคิดรูปแบบกลบทและคำประพันธ์รูปแบบใหม่ขึ้นหลายชิ้น มีการฟื้นฟูเพลงพื้นบ้านและการละเล่นมากมาย
๒.๗ คำสร้อย คือ คำที่เติมท้ายวรรคเพื่อเอื้อนเสียงให้ไพเราะ เพิ่มความสมบูรณ์ของข้อความ ใช้ในโคลงและร่าย ได้แก่คำว่า พี่เอย สูงเอย นาพ่อ น้องนอ หนึ่งรา ก็ดี ฤๅแม่ ฤๅพ่อ เป็นต้น

.
.

                                                                                                              
.
.
.

 

สร้างโดย: 
นางสาวเกวลิน ทวีสุข และ นางสาวอัญชิสา มากุลสวัสดิ์อุดม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 489 คน กำลังออนไลน์