• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a5c0876d959a0781f6d14636cfdac9a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"background-color: #ffffff\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<h3><a href=\"/node/74256/\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 11pt\"></span></span></a><a href=\"/node/74256/\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></a></h3>\n<p></p></span></span>\n<h3><a href=\"/node/74256/\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></a></h3>\n<h3><a href=\"/node/74256\"><img width=\"215\" src=\"/files/u31921/cats.jpg\" height=\"73\" /></a><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">   <span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></span></span><a href=\"/node/74256/\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></span></span></a><a href=\"/node/74252\"><img width=\"203\" src=\"/files/u31921/cats1.jpg\" height=\"51\" /></a><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">   </span></span></span></span><a href=\"/node/74259\"><img width=\"203\" src=\"/files/u31921/cats2.jpg\" height=\"51\" /></a></h3>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><a href=\"/74252\" style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n</span></a></span></span><span style=\"text-decoration: none\"><a href=\"/node/74259\"><img width=\"218\" src=\"/files/u31921/cats3.jpg\" height=\"55\" /></a></span><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">   </span></span></span></span><a href=\"/node/76365\"><img width=\"203\" src=\"/files/u31921/cats4.jpg\" height=\"51\" /></a><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">   </span></span></span></span><a href=\"/node/76372\"><img width=\"203\" src=\"/files/u31921/cats5.jpg\" height=\"51\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"text-decoration: none\"><span style=\"color: #339966\" class=\"Apple-style-span\">\n<h3><a href=\"/node/76383\"><img width=\"203\" src=\"/files/u31921/cats6.jpg\" height=\"51\" /></a> <br />\n</h3>\n<p></p></span></span></span></span>\n</div>\n<p>  <span style=\"color: #339966\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></p>\n<h3></h3>\n<p> \n</p></div>\n<p><center><a href=\"/node/71873\"><img border=\"0\" src=\"http://widget.sanook.com/static_content/widget/full/emo_1/2350/143350/a7200b4bac77e8804f9e48304a92b6d9_1219148496.gif\" alt=\"คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ\" /></a></center></p>\n<h2><center><br />\n</center><center></center><center><span style=\"color: #cc3399\">การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์</span></center></h2>\n<p>\n<b><span style=\"color: #800080\">การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะด้วยกัน คือ </span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">1. ระยะไข่ตก (Ovulation) ได้แก่ ระยะ 2 สัปดาห์แรก ปกติเดือนหนึ่งจะมีไข่ตกเพียง 1 ฟองโดยประมาณช่วงกลางของรอบเดือน (วันที่ 12-16) ไข่จะเคลื่อนที่เข้าไปอยู่ในท่อนำไข่ (ส่วนโป่ง) ถ้ามีการร่วมเพศในระยะนั้น อสุจิตัวหนึ่งจากจำนวนหลายล้านตัว จะเข้าผสมกับไข่ แล้วมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณจาก 1 เป็น 2 จาก 2 เป็น 4 จาก 4 เป็น 8 จาก 8 เป็น 16 เป็นต้น เมื่อมีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้น จะโตเป็นก้อนดูคล้ายผลน้อยหน่า ระยะนี้เรียกว่า ระยะมอรูลาร์ (Morular) แล้วผ่านเข้าสู่ระยะบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) ซึ่งเป็นระยะที่ไข่ผ่านเข้าสู่โพรงมดลูกและฝังตัว ตำแหน่งที่ไข่ฝังตัวนี้จะกลายเป็นรกในเวลาต่อมา เพื่อเป็นสื่อนำอาหารจากมารดามาเลี้ยงทารกในขณะเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"116\" src=\"/files/u31921/egg01.gif\" height=\"190\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/s...</a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800080\">2. ระยะคัพภะ (Embryo) ได้แก่ ระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3-7 หรือ 8 เป็นระยะที่มีการสร้างอวัยวะสำคัญต่างๆ ของร่างกาย (Organogenesis) เช่น หัวใจ ตา หู ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ แขน ขา เป็นต้น ระยะนี้เป็นระยะที่มีอันตรายมากที่สุดสำหรับการติดเชื้อหรือการกินยาบางอย่าง เพราะอาจทำให้เด็กที่เกิดมานั้นพิการได้ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"160\" src=\"/files/u31921/embryo.gif\" height=\"161\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/s...</a> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #800080\">3. ระยะตัวอ่อน (Fetus)  ได้แก่ ระยะตั้งแต่สัปดาห์ 7 หรือ 8-40 เป็นระยะของการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ที่เริ่มสร้างขึ้นในระยะคัพภะเพื่อที่จะให้ทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อตัวอ่อนคลอดมาเป็นทารก เช่น ระบบประสาท ระบบหายใจ และระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น ในระยะตัวอ่อนนี้ เมื่ออายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 35 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 1,000 กรัม ผิวหนังแดงเรื่อแต่เหี่ยวย่นคล้ายผิวคนแก่ มีไข่เคลือบทั่ว อวัยวะต่างๆ เริ่มทำงานได้ถ้าทารกคลอดในระยะนี้ อาจมีชีวิตอยู่ได้ในความดูแลของกุมารแพทย์ที่มีเครื่องมือเครื่องใช้พร้อม เมื่ออายุครรภ์ครบ 32 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 40 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 1,600-2,000 กรัม เริ่มมีไขมันใต้ผิวหนัง ถ้าเป็นเพศชายอัณฑะจะเคลื่อนจากช่องท้องลงไปยังถุงอัณฑะ การเจริญเติบโตของร่างกายของทารกในครรภ์ใกล้เคียงกับทารกคลอดครบกำหนด ถ้าคลอดในระยะนี้มีโอกาสอยู่รอดได้มากขึ้น  เมื่ออายุครรภ์ครบ 36 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 45 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2,000-2,400 กรัม รอยย่นของผิวหนังหายไป แต่ยังมีไขเคลือบอยู่ อวัยวะต่างๆ เจริญเติบโตเกือบเต็มที่ และเมื่ออายุครบ 40 สัปดาห์ หรือครบกำหนดคลอด อวัยวะต่างๆ ของทารกจะเจริญเติบโตเต็มที่ตัวยาวประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักตัวไม่ควรน้อยกว่า 2,500 กรัม ระยะนี้ศีรษะของทารกจะเคลื่อนลงไปในอุ้งเชิงกราน ทำให้มารดารู้สึกว่า &quot;ท้องลด&quot; หายอึดอัด สบายขึ้น </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #800080\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img width=\"160\" src=\"/files/u31921/fetus_0.gif\" height=\"137\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\" title=\"http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/standards5.html\">http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/health03/05/2/contents/s...</a> \n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727804192, expire = 1727890592, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a5c0876d959a0781f6d14636cfdac9a1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

รูปภาพของ sss27797

 

 

     

 


     

 


 

 

คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ


การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์

การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะด้วยกัน คือ

1. ระยะไข่ตก (Ovulation) ได้แก่ ระยะ 2 สัปดาห์แรก ปกติเดือนหนึ่งจะมีไข่ตกเพียง 1 ฟองโดยประมาณช่วงกลางของรอบเดือน (วันที่ 12-16) ไข่จะเคลื่อนที่เข้าไปอยู่ในท่อนำไข่ (ส่วนโป่ง) ถ้ามีการร่วมเพศในระยะนั้น อสุจิตัวหนึ่งจากจำนวนหลายล้านตัว จะเข้าผสมกับไข่ แล้วมีการแบ่งตัวแบบทวีคูณจาก 1 เป็น 2 จาก 2 เป็น 4 จาก 4 เป็น 8 จาก 8 เป็น 16 เป็นต้น เมื่อมีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้น จะโตเป็นก้อนดูคล้ายผลน้อยหน่า ระยะนี้เรียกว่า ระยะมอรูลาร์ (Morular) แล้วผ่านเข้าสู่ระยะบลาสโตซิสต์ (Blastocyst) ซึ่งเป็นระยะที่ไข่ผ่านเข้าสู่โพรงมดลูกและฝังตัว ตำแหน่งที่ไข่ฝังตัวนี้จะกลายเป็นรกในเวลาต่อมา เพื่อเป็นสื่อนำอาหารจากมารดามาเลี้ยงทารกในขณะเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์

 

 

2. ระยะคัพภะ (Embryo) ได้แก่ ระยะตั้งแต่สัปดาห์ที่ 3-7 หรือ 8 เป็นระยะที่มีการสร้างอวัยวะสำคัญต่างๆ ของร่างกาย (Organogenesis) เช่น หัวใจ ตา หู ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบหายใจ แขน ขา เป็นต้น ระยะนี้เป็นระยะที่มีอันตรายมากที่สุดสำหรับการติดเชื้อหรือการกินยาบางอย่าง เพราะอาจทำให้เด็กที่เกิดมานั้นพิการได้

 

3. ระยะตัวอ่อน (Fetus)  ได้แก่ ระยะตั้งแต่สัปดาห์ 7 หรือ 8-40 เป็นระยะของการเจริญเติบโตของอวัยวะต่างๆ ที่เริ่มสร้างขึ้นในระยะคัพภะเพื่อที่จะให้ทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์ เมื่อตัวอ่อนคลอดมาเป็นทารก เช่น ระบบประสาท ระบบหายใจ และระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น ในระยะตัวอ่อนนี้ เมื่ออายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 35 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 1,000 กรัม ผิวหนังแดงเรื่อแต่เหี่ยวย่นคล้ายผิวคนแก่ มีไข่เคลือบทั่ว อวัยวะต่างๆ เริ่มทำงานได้ถ้าทารกคลอดในระยะนี้ อาจมีชีวิตอยู่ได้ในความดูแลของกุมารแพทย์ที่มีเครื่องมือเครื่องใช้พร้อม เมื่ออายุครรภ์ครบ 32 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 40 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 1,600-2,000 กรัม เริ่มมีไขมันใต้ผิวหนัง ถ้าเป็นเพศชายอัณฑะจะเคลื่อนจากช่องท้องลงไปยังถุงอัณฑะ การเจริญเติบโตของร่างกายของทารกในครรภ์ใกล้เคียงกับทารกคลอดครบกำหนด ถ้าคลอดในระยะนี้มีโอกาสอยู่รอดได้มากขึ้น  เมื่ออายุครรภ์ครบ 36 สัปดาห์ ทารกจะยาวประมาณ 45 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 2,000-2,400 กรัม รอยย่นของผิวหนังหายไป แต่ยังมีไขเคลือบอยู่ อวัยวะต่างๆ เจริญเติบโตเกือบเต็มที่ และเมื่ออายุครบ 40 สัปดาห์ หรือครบกำหนดคลอด อวัยวะต่างๆ ของทารกจะเจริญเติบโตเต็มที่ตัวยาวประมาณ 50 เซนติเมตร น้ำหนักตัวไม่ควรน้อยกว่า 2,500 กรัม ระยะนี้ศีรษะของทารกจะเคลื่อนลงไปในอุ้งเชิงกราน ทำให้มารดารู้สึกว่า "ท้องลด" หายอึดอัด สบายขึ้น

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 417 คน กำลังออนไลน์