• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d3cd23aa08cb002be3ccbe6055d8ae0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                                        \n</p>\n<p>                  <img height=\"55\" width=\"151\" src=\"/files/u31522/khwdlwh.jpg\" border=\"0\" /><span style=\"color: #ab7754\">      </span><a href=\"/node/75418\"><span style=\"color: #ab7754\"><img height=\"55\" width=\"151\" src=\"/files/u31522/euuetr.jpg\" border=\"0\" /></span>  </a><span style=\"color: #ab7754\">    </span><a href=\"/node/75454\"><span style=\"color: #ab7754\"><img height=\"55\" width=\"151\" src=\"/files/u31522/uyiy.jpg\" border=\"0\" /></span> </a><span style=\"color: #ab7754\"></span><span style=\"color: #ab7754\"></span></p>\n<p>\n                                        <a href=\"/node/75485\"><img height=\"55\" width=\"151\" src=\"/files/u31522/qrrrrre.jpg\" border=\"0\" /> </a>        <a href=\"/node/71483\"><img height=\"55\" width=\"151\" src=\"/files/u31522/lpp.jpg\" border=\"0\" /> </a>\n</p>\n<p>\n         \n</p>\n<p></p>\n<p>\n                <img height=\"369\" width=\"600\" src=\"/files/u31522/hhll.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n                                <a href=\"http://www.travelprothai.com/blog/images/stories/lan_pic/hhll.jpg\">http://www.travelprothai.com/blog/images/stories/lan_pic/hhll.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">  </span><span style=\"color: #00ccff\"> </span><span style=\"color: #00ccff\">  อุทยานแห่งชาติหวงหลงอยู่ในอำเภอซงพันในเขตปกครองตนเองของชนเผ่าทิเบตอาป้าและเผ่าเชียง ทางตอนเหนือของมณฑลซื่อชวน (เสฉวน)ของจีนติดต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติจิ่วไจ้โกว ครอบคลุมพื้นที่กว่า 1,340 ตารางกิโลเมตร บนความสูงกว่าระดับน้ำทะเล 3,000 – 5,588 เมตร </span></p>\n<p>     โครงสร้างทางภูมิศาสตร์ของหวงหลงมีความซับซ้อนเป็นพิเศษ โดยตั้งอยู่บนขอบวงบรรจบของพื้นที่ทางธรณีวิทยาที่แตกต่างกันถึง 3 ลักษณะ ได้แก่ เขตที่ราบสูงของลุ่มน้ำแยงซี เขตทุ่งหญ้าซงพัน และเขตเทือกเขาฉินหลิ่ง (เส้นแบ่งเหนือใต้ทางธรรมชาติของจีน) </p>\n<p>     นอกจากนี้ ยังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างเขตที่ราบสูงชิงจั้งในทิเบตและที่ราบต่ำในเสฉวน ก่อให้เกิดภูมิทัศน์แบบขั้นบันได ทับซ้อนกันเป็นชั้นๆ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\"></span>\n</p>\n<p>\n   <img height=\"398\" width=\"600\" src=\"/files/u31522/p_176269.jpg\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p>\n                                      <a href=\"http://www.chinaworldtour.com/catalog/p_176269.jpg\">http://www.chinaworldtour.com/catalog/p_176269.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"color: #00ccff\">ลักษณะทางธรณีวิทยาดังกล่าว ส่งผลให้หวงหลงกลายเป็นช่วงแนวเขาสุดท้ายและเป็นแหล่งชุมนุมของบรรดาเทือกเขาสูงจากภาคตะวันตก ก่อนจะเข้าสู่เขตที่ราบลุ่มภาคกลางของจีน ก่อเกิดเป็นทัศนียภาพที่น่าตื่นใจของ หุบเหวลึกนับพันเมตร ยอดเขาสูงชันที่ปกคลุมด้วยหิมะตลอดปี โตรกธารน้ำแข็งนับร้อยพันสายที่เลาะเลี้ยวไปตามหุบเขาทุกหนแห่ง อันเป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญ 3 สายของจีน ได้แก่ ลำน้ำฝูเจียง หมินเจียง และเจียหลิง (ก่อนบรรจบกันเป็นแม่น้ำแยงซีเกียง) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\">     ระหว่างเส้นทางธรรมชาตินี้ ยังมีแนวหินปะการังที่เกิดจากการสะสมของแคลเซี่ยมหรือหินคาร์สท์ (Kast) ที่มีขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดในโลก ปกคลุมอยู่ตลอดแนวสันเขา ผ่านเส้นทางของน้ำตกสายต่างๆ บ้างกลายเป็นสระน้อยใหญ่ ที่รองรับน้ำใสเย็น แล้วส่งผ่านลงมาเป็นชั้นๆ อันเป็นสัญลักษณ์เลื่องชื่อของอุทยานแห่งนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\">     นอกจากนี้ ความแตกต่างที่มาบรรจบกัน ยังส่งผลให้สภาพภูมิอากาศและพืชพันธุ์สัตว์ป่าที่อาศัยในถิ่นนี้ มีการผสมผสานกันระหว่างเขตเหนือใต้ อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่แปลกตาหายากอีกด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\">     ‘มังกร’ ถือเป็นภูมิทัศน์เอกของอุทยานแห่งนี้ จากยอดเขาเสวี่ยเป๋าติ่ง ด้วยความสูง 5,588 เมตร ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในเขตอุทยานแห่งนี้ ธารน้ำแข็งไหลผ่านแนวสันเขาหินปะการังสีทองลงมา กลายเป็นน้ำตกน้อยใหญ่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\">     เมื่อถึงไหล่เขา ณ ความสูงราว 3,100 –3,600 เมตรได้กลับมารวมกันที่โตรกธารหวงหลงอีกครั้ง เกิดเป็นสระมรกตหลากสีสันกว่า 3,000 สระ บ้างมีขนาดใหญ่โตนับพันตารางเมตร บ้างก็มีขนาดเพียงไม่กี่ตารางเมตร บ้างลึกบ้างตื้นทับซ้อนกัน เป็นระยะทางกว่า 3.6 กิโลเมตร</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #00ccff\">      เมื่อแหงนมองขึ้นไปก็จะเห็น‘มังกรเหลือง’ที่ลดเลี้ยวขึ้นสู่หมู่เมฆบนยอดเขาหิมะ และเมื่อก้มมองเบื้องล่างก็จะพบกับ ‘สระสวรรค์ในแดนดิน’ทอดตัวอย่างสงบท่ามกลางขุนเขาและแมกไม้</span>\n</p>\n<p>\n                                                                                        <strong><a href=\"/node/74839\">กลับ</a></strong>\n</p>\n', created = 1727148560, expire = 1727234960, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d3cd23aa08cb002be3ccbe6055d8ae0b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อุทยานหวงหลง

รูปภาพของ sss27895

                                                                        

                              

                                                

         

                

                                http://www.travelprothai.com/blog/images/stories/lan_pic/hhll.jpg

     อุทยานแห่งชาติหวงหลงอยู่ในอำเภอซงพันในเขตปกครองตนเองของชนเผ่าทิเบตอาป้าและเผ่าเชียง ทางตอนเหนือของมณฑลซื่อชวน (เสฉวน)ของจีนติดต่อกับเขตอุทยานแห่งชาติจิ่วไจ้โกว ครอบคลุมพื้นที่กว่า 1,340 ตารางกิโลเมตร บนความสูงกว่าระดับน้ำทะเล 3,000 – 5,588 เมตร

     โครงสร้างทางภูมิศาสตร์ของหวงหลงมีความซับซ้อนเป็นพิเศษ โดยตั้งอยู่บนขอบวงบรรจบของพื้นที่ทางธรณีวิทยาที่แตกต่างกันถึง 3 ลักษณะ ได้แก่ เขตที่ราบสูงของลุ่มน้ำแยงซี เขตทุ่งหญ้าซงพัน และเขตเทือกเขาฉินหลิ่ง (เส้นแบ่งเหนือใต้ทางธรรมชาติของจีน)

     นอกจากนี้ ยังเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างเขตที่ราบสูงชิงจั้งในทิเบตและที่ราบต่ำในเสฉวน ก่อให้เกิดภูมิทัศน์แบบขั้นบันได ทับซ้อนกันเป็นชั้นๆ

    

                                      http://www.chinaworldtour.com/catalog/p_176269.jpg


     ลักษณะทางธรณีวิทยาดังกล่าว ส่งผลให้หวงหลงกลายเป็นช่วงแนวเขาสุดท้ายและเป็นแหล่งชุมนุมของบรรดาเทือกเขาสูงจากภาคตะวันตก ก่อนจะเข้าสู่เขตที่ราบลุ่มภาคกลางของจีน ก่อเกิดเป็นทัศนียภาพที่น่าตื่นใจของ หุบเหวลึกนับพันเมตร ยอดเขาสูงชันที่ปกคลุมด้วยหิมะตลอดปี โตรกธารน้ำแข็งนับร้อยพันสายที่เลาะเลี้ยวไปตามหุบเขาทุกหนแห่ง อันเป็นแหล่งต้นน้ำสำคัญ 3 สายของจีน ได้แก่ ลำน้ำฝูเจียง หมินเจียง และเจียหลิง (ก่อนบรรจบกันเป็นแม่น้ำแยงซีเกียง)

     ระหว่างเส้นทางธรรมชาตินี้ ยังมีแนวหินปะการังที่เกิดจากการสะสมของแคลเซี่ยมหรือหินคาร์สท์ (Kast) ที่มีขนาดใหญ่และสมบูรณ์ที่สุดในโลก ปกคลุมอยู่ตลอดแนวสันเขา ผ่านเส้นทางของน้ำตกสายต่างๆ บ้างกลายเป็นสระน้อยใหญ่ ที่รองรับน้ำใสเย็น แล้วส่งผ่านลงมาเป็นชั้นๆ อันเป็นสัญลักษณ์เลื่องชื่อของอุทยานแห่งนี้

     นอกจากนี้ ความแตกต่างที่มาบรรจบกัน ยังส่งผลให้สภาพภูมิอากาศและพืชพันธุ์สัตว์ป่าที่อาศัยในถิ่นนี้ มีการผสมผสานกันระหว่างเขตเหนือใต้ อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่แปลกตาหายากอีกด้วย

     ‘มังกร’ ถือเป็นภูมิทัศน์เอกของอุทยานแห่งนี้ จากยอดเขาเสวี่ยเป๋าติ่ง ด้วยความสูง 5,588 เมตร ซึ่งเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดในเขตอุทยานแห่งนี้ ธารน้ำแข็งไหลผ่านแนวสันเขาหินปะการังสีทองลงมา กลายเป็นน้ำตกน้อยใหญ่

     เมื่อถึงไหล่เขา ณ ความสูงราว 3,100 –3,600 เมตรได้กลับมารวมกันที่โตรกธารหวงหลงอีกครั้ง เกิดเป็นสระมรกตหลากสีสันกว่า 3,000 สระ บ้างมีขนาดใหญ่โตนับพันตารางเมตร บ้างก็มีขนาดเพียงไม่กี่ตารางเมตร บ้างลึกบ้างตื้นทับซ้อนกัน เป็นระยะทางกว่า 3.6 กิโลเมตร

      เมื่อแหงนมองขึ้นไปก็จะเห็น‘มังกรเหลือง’ที่ลดเลี้ยวขึ้นสู่หมู่เมฆบนยอดเขาหิมะ และเมื่อก้มมองเบื้องล่างก็จะพบกับ ‘สระสวรรค์ในแดนดิน’ทอดตัวอย่างสงบท่ามกลางขุนเขาและแมกไม้

                                                                                        กลับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 298 คน กำลังออนไลน์