• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:68c1b081b89191bf268e34a5a7767b75' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31941/banner_.jpg\" height=\"141\" width=\"500\" /><br />\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<hr size=\"2\" width=\"100%\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b>   </b><u><b>การเกิดปฏิกิริยาเคมี </b></u></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31941/chem_r2.jpg\" height=\"248\" width=\"167\" /> \n</div>\n<div align=\"center\">\n( ที่มารูป  ::: <a href=\"http://uwf.edu/chemistry/images/research_background-small.jpg\" title=\"http://uwf.edu/chemistry/images/research_background-small.jpg\">http://uwf.edu/chemistry/images/research_background-small.jpg</a> )\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> . </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\nเ<span style=\"color: #ff6600\">ป็นการเปลี่ยนแปลงของสารที่ได้ผลิตภัณฑ์ของสารที่แตกต่างจากสารเดิมโดยสังเกตจากการเปลี่ยนสีของสาร การเกิดตะกอน หรือการเกิดกลิ่นใหม่</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><u><b>ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction)</b></u></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #00ccff\">คือ  กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสาร ใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมีจำเป็นต้องมีสารเคมีตั้งต้น 2 ตัวขึ้นไป (เรียกสารเคมีตั้งต้นเหล่านี้ว่า &quot;สารตั้งต้น&quot; หรือ reactant)ทำปฏิกิริยาต่อกัน และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึ่งก่อตัวขึ้นมาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า &quot;ผลิตภัณฑ์&quot; (product) ซึ่งสารผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติทางเคมีที่เปลี่ยนไปจากเดิม </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31941/chem_r3.jpg\" height=\"57\" width=\"285\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\">หลังจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีอะตอมทั้งหมดของสารตั้งต้นไม่มีการสูญหายไปไหนแต่เกิดการแลกเปลี่ยนจากสารหนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง<br />\nซึ่งจะเห็นได้จากผลรวมของอะตอมของสารตั้งต้นจะเท่ากับผลรวมของอะตอมของผลิตภัณฑ์ </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\">  </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<u><b><span style=\"color: #800080\"> ปฏิกิริยาเคมีมีขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงตามลำดับผังเหตุการณ์ ต่อไปนี้</span></b></u>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img src=\"/files/u31941/chem_r4_0.jpg\" height=\"328\" width=\"510\" /> <br />\n( ที่มารูป ::: <a href=\"http://www.krusub.net/unit3/unit302/images/03.jpg\" title=\"http://www.krusub.net/unit3/unit302/images/03.jpg\">http://www.krusub.net/unit3/unit302/images/03.jpg</a> )\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<u><b><span style=\"color: #339966\">ปฏิกิริยาเคมีแบ่งออกได้  5  ชนิด ได้แก่</span></b></u>\n<p><span style=\"color: #0000ff\">1. ปฏิกิริยาการรวมตัว                         A +Z         -------&gt;           AZ</span></p>\n<p>2. ปฏิกิริยาการสลายตัว                       AZ            -------&gt;           A +Z</p>\n<p>3. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงเดี่ยว             A + BZ       -------&gt;           AZ + B</p>\n<p>4. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงคู่                  AX+BZ       -------&gt;           AZ + BX</p>\n<p>5. ปฏิกิริยาสะเทิน                            HX+BOH     -------&gt;          BX + HOH\n</p></div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff6600\"><u><b> </b></u></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff6600\"><u><b> ข้อสังเกตการเกิดปฏิกิริยา</b></u></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #666699\">สารใหม่ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้ดังนี้</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #008000\">1. สี เช่น สารเดิมไม่มีสีเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีสีใหม่เกิดขึ้น (สารใหม่)<br />\n2. กลิ่น เช่น เกิดกลิ่นฉุน กลิ่นเหม็น กลิ่นหอม<br />\n3. ตะกอน เช่น สารละลายเลด (II) ไนเตรต และโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็นของเหลวใส ไม่มีสี  เมื่อผสมกันแล้วเกิดตะกอนสีเหลือง<br />\n4. ฟองแก๊ส เช่น กรดไฮโดรคลอริก ผสมกับหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สขึ้น<br />\n5. เกิดการระเบิด หรือเกิดประกายไฟ เช่น ใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำจะเกิดประกายไฟขึ้น<br />\n6. มีอุณหภูมิเปลี่ยน ซึ่งสารโดยทั่วไปเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดการเปลี่ยนแปลง พลังงาน ความร้อนควบคู่ไปด้วยเสมอ  </span>\n</div>\n<div>\n<u><b> </b></u>\n</div>\n<div>\n<u><b><span style=\"color: #ff0000\"> </span></b></u>\n</div>\n<div>\n<u><b><span style=\"color: #ff0000\">หมายเหตุ  การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เกิดปฏิกิริยาเคมีแน่นอน</span></b></u>\n</div>\n<div>\n<br />\n<span style=\"color: #c71585\">1. การสันดาป  หมายถึง การที่สารทำปฏิกิริยากับแก็สออกซิเจน <br />\n2. การหมัก เช่น การหมักแป้งเป็นน้ำตาล<br />\n3. กระบวนการเมแทบอลิซึม ( ปฏิกิริยาในสิ่งมีชีวิต ) เช่น การย่อยอาหาร  การหายใจ เป็นต้น <br />\n4. การถลุงแร่  การเกิดสนิม ปฏิกิริยาในแบตตารี่ </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ff6600\"><u><b>แหล่งอ้างอิง</b></u></span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<a href=\"http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&amp;category=110&amp;id=4035\" title=\"http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&amp;category=110&amp;id=4035\">http://www.muslimthai.com/main/1428/content.php?page=sub&amp;category=110&amp;id...</a>\n</div>\n<div>\n<a href=\"http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=703&amp;Itemid=4\" title=\"http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=703&amp;Itemid=4\">http://www.electron.rmutphysics.com/science-news/index.php?option=com_co...</a>\n</div>\n<div>\n<a href=\"http://www.krusub.net/unit3/unit302/unit302.html\" title=\"http://www.krusub.net/unit3/unit302/unit302.html\">http://www.krusub.net/unit3/unit302/unit302.html</a>\n</div>\n<div>\n<a href=\"http://www.tps.ac.th/~narin/basicchem/index_files/page0013.htm\" title=\"http://www.tps.ac.th/~narin/basicchem/index_files/page0013.htm\">http://www.tps.ac.th/~narin/basicchem/index_files/page0013.htm</a> \n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\">. </span>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\n<span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n\n</div>\n<div>\n</div>\n<div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/75236\"><img src=\"/files/u31941/b1_1.jpg\" height=\"88\" width=\"270\" /></a>          <span style=\"color: #ffffff\">       <a href=\"/node/75230\"><img src=\"/files/u31941/b1_2.jpg\" height=\"84\" width=\"257\" /></a>      <br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">.</span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><span style=\"color: #ffffff\">. </span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">. <br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/73661\"><img src=\"/files/u31941/b_menu.jpg\" align=\"left\" height=\"67\" width=\"200\" /></a>         </span><a href=\"/node/70597\"><img src=\"/files/u31941/home__0.jpg\" align=\"right\" height=\"67\" width=\"200\" /></a>\n</div>\n<p>\n</p></div>\n<div>\n\n</div>\n<p><input id=\"gwProxy\" type=\"hidden\" /></p>\n<!--Session data--><!--Session data--><p><input onclick=\"if(typeof(jsCall)==\'function\'){jsCall();}else{setTimeout(\'jsCall()\',500);}\" id=\"jsProxy\" type=\"hidden\" /></p>\n<div id=\"refHTML\">\n</div>\n<p><input id=\"gwProxy\" type=\"hidden\" /></p>\n<!--Session data--><!--Session data--><p><input onclick=\"if(typeof(jsCall)==\'function\'){jsCall();}else{setTimeout(\'jsCall()\',500);}\" id=\"jsProxy\" type=\"hidden\" /></p>\n<div id=\"refHTML\">\n</div>\n', created = 1715319587, expire = 1715405987, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:68c1b081b89191bf268e34a5a7767b75' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

::: การเกิดปฏิกิริยาเคมี :::

รูปภาพของ sss27632


   การเกิดปฏิกิริยาเคมี
.
 .
ป็นการเปลี่ยนแปลงของสารที่ได้ผลิตภัณฑ์ของสารที่แตกต่างจากสารเดิมโดยสังเกตจากการเปลี่ยนสีของสาร การเกิดตะกอน หรือการเกิดกลิ่นใหม่
.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical reaction)
.
.
คือ  กระบวนการที่เกิดจากการที่สารเคมีเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้วส่งผลให้เกิดสาร ใหม่ขึ้นมาซึ่งมีคุณสมบัติเปลี่ยนไปจากเดิม การเกิดปฏิกิริยาเคมีจำเป็นต้องมีสารเคมีตั้งต้น 2 ตัวขึ้นไป (เรียกสารเคมีตั้งต้นเหล่านี้ว่า "สารตั้งต้น" หรือ reactant)ทำปฏิกิริยาต่อกัน และทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในคุณสมบัติทางเคมี ซึ่งก่อตัวขึ้นมาเป็นสารใหม่ที่เรียกว่า "ผลิตภัณฑ์" (product) ซึ่งสารผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติทางเคมีที่เปลี่ยนไปจากเดิม 
.
.
 
หลังจากการเกิดปฏิกิริยาเคมีอะตอมทั้งหมดของสารตั้งต้นไม่มีการสูญหายไปไหนแต่เกิดการแลกเปลี่ยนจากสารหนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง
ซึ่งจะเห็นได้จากผลรวมของอะตอมของสารตั้งต้นจะเท่ากับผลรวมของอะตอมของผลิตภัณฑ์ 
 
 ปฏิกิริยาเคมีมีขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงตามลำดับผังเหตุการณ์ ต่อไปนี้


( ที่มารูป ::: http://www.krusub.net/unit3/unit302/images/03.jpg )
.
.
.
 
ปฏิกิริยาเคมีแบ่งออกได้  5  ชนิด ได้แก่

1. ปฏิกิริยาการรวมตัว                         A +Z         ------->           AZ

2. ปฏิกิริยาการสลายตัว                       AZ            ------->           A +Z

3. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงเดี่ยว             A + BZ       ------->           AZ + B

4. ปฏิกิริยาการแทนที่เชิงคู่                  AX+BZ       ------->           AZ + BX

5. ปฏิกิริยาสะเทิน                            HX+BOH     ------->          BX + HOH

.
.
.
.
.
 
 ข้อสังเกตการเกิดปฏิกิริยา
สารใหม่ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาเคมี สังเกตได้ดังนี้
1. สี เช่น สารเดิมไม่มีสีเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี จะมีสีใหม่เกิดขึ้น (สารใหม่)
2. กลิ่น เช่น เกิดกลิ่นฉุน กลิ่นเหม็น กลิ่นหอม
3. ตะกอน เช่น สารละลายเลด (II) ไนเตรต และโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็นของเหลวใส ไม่มีสี  เมื่อผสมกันแล้วเกิดตะกอนสีเหลือง
4. ฟองแก๊ส เช่น กรดไฮโดรคลอริก ผสมกับหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนตเกิดฟองแก๊สขึ้น
5. เกิดการระเบิด หรือเกิดประกายไฟ เช่น ใส่โลหะโซเดียมลงในน้ำจะเกิดประกายไฟขึ้น
6. มีอุณหภูมิเปลี่ยน ซึ่งสารโดยทั่วไปเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีจะเกิดการเปลี่ยนแปลง พลังงาน ความร้อนควบคู่ไปด้วยเสมอ 
 
 
หมายเหตุ  การเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้เกิดปฏิกิริยาเคมีแน่นอน

1. การสันดาป  หมายถึง การที่สารทำปฏิกิริยากับแก็สออกซิเจน
2. การหมัก เช่น การหมักแป้งเป็นน้ำตาล
3. กระบวนการเมแทบอลิซึม ( ปฏิกิริยาในสิ่งมีชีวิต ) เช่น การย่อยอาหาร  การหายใจ เป็นต้น
4. การถลุงแร่  การเกิดสนิม ปฏิกิริยาในแบตตารี่ 
.
.
.
.
 
แหล่งอ้างอิง
.
.
.
.
.

 

 
                      
.
.
.
.
 
.
.
.
.
        

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 380 คน กำลังออนไลน์