• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญในประชาคมอาเซียน 10 ประเทศ', 'node/141820', '', '3.145.174.57', 0, '2bfb2b8b3bcfde809b534cef0fa1b057', 136, 1715941013) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5b77b50946a9d1db6b2e54287da1a195' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"300\" width=\"583\" src=\"/files/u31498/h______________________copy_0.jpg\" alt=\"คำฉันท์\" border=\"0\" /> \n</div>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/69796\"><br />\n</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/69912\"><img height=\"70\" width=\"170\" src=\"/files/u31498/Untitled-1_0.jpg\" alt=\"ฉันทลักษณ์\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/69779\"><img height=\"70\" width=\"170\" src=\"/files/u31498/Untitled-2.jpg\" alt=\"หลักการเขียน\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/69796\"><img height=\"70\" width=\"170\" src=\"/files/u31498/Untitled-3_0.jpg\" alt=\"หลักการพูด\" border=\"0\" /></a>  <br />\n<a href=\"/node/76340\"><img height=\"70\" width=\"170\" src=\"/files/u31498/Untitled-4.jpg\" alt=\"วรรณคดีไทย\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/76580\"><img height=\"70\" width=\"170\" src=\"/files/u31498/Untitled-5.jpg\" alt=\"การละเล่นไทย\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><span style=\"background-color: #ffff99\">คำฉันท์</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"600\" width=\"423\" src=\"/files/u31498/83351_776089.jpg\" alt=\"ครูสอนคำฉันท์\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ที่มา</span>  <a href=\"/files/u31498/83351_776089.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/83351_776089.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #800080\">ฉันท์</span> คือลักษณะถ้อยคำ ที่กวีได้ร้อยกรองขึ้น ไห้เกิดความไพเราะ ซาบซึ้ง โดยกำหนดคณะ ครุลหุ และสัมผัสไว้ เป็นมาตรฐาน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">ฉันท์ในภาษาบาลี</span> <span style=\"color: #ff00ff\">แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ฉันท์วรรณพฤติ กับฉันท์มาตราพฤติ<br />\n</span><span style=\"color: #800080\">ฉันท์ใด กำหนดด้วยตัวอักษร</span> <span style=\"color: #ff00ff\">คือ วางคณะ และกำหนดเสียงหนักเบา ที่เรียกว่า ครุลหุ เป็นสำคัญ ฉันท์นั้นเรียกว่า วรรณพฤติ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">ฉันท์ใด กำหนดด้วยมาตรา</span> <span style=\"color: #ff00ff\">คือ วางจังหวะสั้นยาว ของมาตราเสียง เป็นสำคัญ นับคำลหุเป็น ๑ มาตรา คำครุ นับเป็น ๒ มาตรา ไม่กำหนดตัวอักษร เหมือนอย่างวรรณพฤติ ฉันท์นั้นเรียกว่า มาตราพฤติ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #99ccff\">ฉันท์มีชื่อต่างๆตามที่ปรากฏในคัมภีร์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ไทยเราดัดแปลง เอามาใช้ไม่หมด <br />\nเลือกเอามาแต่เฉพาะที่เห็นว่าไพเราะ มีทำนองอ่านสละสลวย และเหมาะแก่การที่จะบรรจุคำในภาษาไทยได้ดี เท่านั้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #00ccff\">ฉันท์ที่นิยมแต่งในภาษาไทย เป็นฉันท์วรรณพฤติเป็นพื้น <br />\nที่เป็นมาตราพฤติ ไม่ใคร่จะนิยมแต่ง เพราะจังหวะ และทำนองที่อ่านในภาษาไทย ไม่สู้จะไพเราะ เหมือนฉันท์วรรณพฤติ <br />\nแม้ฉันท์วรรณพฤติ ที่ท่านแปลงมาเป็นแบบในภาษาไทยแล้ว <br />\nก็ไม่นิยมแต่งกันทั้งหมด เท่าที่สังเกตดู ในคำฉันท์เก่าๆ มักนิยมแต่งกันอยู่เพียง ๖ ฉันท์เท่านั้น คือ</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">   - อินทรวิเชียรฉันท์ <br />\n- โตฎกฉันท์ <br />\n- วสันตดิลกฉันท์ <br />\n- มาลินีฉันท์ <br />\n- สัททุลวิกกีฬิตฉันท์ <br />\n- สัทธราฉันท์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">การแต่งฉันท์ ต้องบรรจุคำให้ครบ ตามจำนวนที่บ่งไว้ <br />\nจะบรรจุคำให้เกินกว่ากำหนด เหมือนการแต่ง โคลง กลอน และกาพย์ ไม่ได้ <br />\nเว้นไว้แต่อักษรนำ อนุญาตให้เกินได้บ้าง แต่บัดนี้ ไม่ใคร่นิยมแล้ว คำใดที่กำหนดไว้ว่า เป็นครุและลหุ <br />\nจะต้องเป็น ครุและลหุจริงๆ และเป็นได้ แต่เฉพาะ ตรงที่บ่งไว้ เท่านั้น จะใช้ครุและลหุ ผิดที่ไม่ได้ <br />\nคำ บ ก็ดี คำที่ประสมด้วย สระอำ ในแม่ ก กา ก็ดี ใช้เป็นลหุได้ <br />\nแต่บัดนี้คำที่ประสมด้วยสระอำ ไม่ใคร่นิยมใช้ เพราะถือว่า เป็นเสียงที่มีตัวสะกดแฝงอยู่ด้วย</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #00ff00; color: #800000\">โครงสร้างอินทรวิเชียรฉันท์  ๑๑</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"252\" width=\"390\" src=\"/files/u31498/chan_intra11.gif\" alt=\"โครงสร้างอินทรวิเชียรฉันท์ 11\" border=\"0\" /> <br />\n<span style=\"color: #ff6600\">ที่มา</span>  <a href=\"/files/u31498/chan_intra11.gif\">http://www.thaigoodview.com/files/u31498/chan_intra11.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399\">   ๏   พวกราชมัลโดย พลโบยมิใช่เบา <br />\nสุดหัตถแห่งเขา ขณะหวดสิพึงกลัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333399\"> ๏   บงเนื้อก็เนื้อเต้น พิศเส้นสรีร์รัว <br />\nทั่วร่างและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #333399\">         ๏   แลหลังละโลมโล- หิตโอ้เลอะหลั่งไป <br />\nเพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #333399\">          ๏   เนื่องนับอเนกแนว ระยะแถวตลอดลาย <br />\nเฆี่ยนครบสยบกาย สิรพับพะกับคา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808080\">                           <span style=\"color: #000080\">      (สามัคคีเภทคำฉันท์)</span> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808080\"><span style=\"color: #808080\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808080\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/76780\"><img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u31498/b_________________________copy_0.jpg\" alt=\"กวีโวหาร\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/69792\">  <img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u31498/b____________________________copy.jpg\" alt=\"กลอนสุภาพ\" border=\"0\" />  <img height=\"50\" width=\"150\" src=\"/files/u31498/b_____________________________________copy.jpg\" alt=\"โคลงสี่สุภาพ\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/72840\"><img height=\"80\" width=\"87\" src=\"/files/u31498/diiv10x_0.gif\" alt=\"HOME\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n', created = 1715941023, expire = 1716027423, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5b77b50946a9d1db6b2e54287da1a195' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คำฉันท์

รูปภาพของ sss28816
คำฉันท์ 


ฉันทลักษณ์ หลักการเขียน หลักการพูด 
วรรณคดีไทย การละเล่นไทย

 

คำฉันท์

ครูสอนคำฉันท์ 

ที่มา  http://www.thaigoodview.com/files/u31498/83351_776089.jpg

ฉันท์ คือลักษณะถ้อยคำ ที่กวีได้ร้อยกรองขึ้น ไห้เกิดความไพเราะ ซาบซึ้ง โดยกำหนดคณะ ครุลหุ และสัมผัสไว้ เป็นมาตรฐาน

ฉันท์ในภาษาบาลี แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ฉันท์วรรณพฤติ กับฉันท์มาตราพฤติ
ฉันท์ใด กำหนดด้วยตัวอักษร คือ วางคณะ และกำหนดเสียงหนักเบา ที่เรียกว่า ครุลหุ เป็นสำคัญ ฉันท์นั้นเรียกว่า วรรณพฤติ

ฉันท์ใด กำหนดด้วยมาตรา คือ วางจังหวะสั้นยาว ของมาตราเสียง เป็นสำคัญ นับคำลหุเป็น ๑ มาตรา คำครุ นับเป็น ๒ มาตรา ไม่กำหนดตัวอักษร เหมือนอย่างวรรณพฤติ ฉันท์นั้นเรียกว่า มาตราพฤติ


ฉันท์มีชื่อต่างๆตามที่ปรากฏในคัมภีร์วุตโตทัยมีถึง ๑๐๘ ฉันท์ แต่ไทยเราดัดแปลง เอามาใช้ไม่หมด
เลือกเอามาแต่เฉพาะที่เห็นว่าไพเราะ มีทำนองอ่านสละสลวย และเหมาะแก่การที่จะบรรจุคำในภาษาไทยได้ดี เท่านั้น


ฉันท์ที่นิยมแต่งในภาษาไทย เป็นฉันท์วรรณพฤติเป็นพื้น
ที่เป็นมาตราพฤติ ไม่ใคร่จะนิยมแต่ง เพราะจังหวะ และทำนองที่อ่านในภาษาไทย ไม่สู้จะไพเราะ เหมือนฉันท์วรรณพฤติ
แม้ฉันท์วรรณพฤติ ที่ท่านแปลงมาเป็นแบบในภาษาไทยแล้ว
ก็ไม่นิยมแต่งกันทั้งหมด เท่าที่สังเกตดู ในคำฉันท์เก่าๆ มักนิยมแต่งกันอยู่เพียง ๖ ฉันท์เท่านั้น คือ

   - อินทรวิเชียรฉันท์ 
- โตฎกฉันท์
- วสันตดิลกฉันท์
- มาลินีฉันท์ 
- สัททุลวิกกีฬิตฉันท์
- สัทธราฉันท์

การแต่งฉันท์ ต้องบรรจุคำให้ครบ ตามจำนวนที่บ่งไว้
จะบรรจุคำให้เกินกว่ากำหนด เหมือนการแต่ง โคลง กลอน และกาพย์ ไม่ได้
เว้นไว้แต่อักษรนำ อนุญาตให้เกินได้บ้าง แต่บัดนี้ ไม่ใคร่นิยมแล้ว คำใดที่กำหนดไว้ว่า เป็นครุและลหุ
จะต้องเป็น ครุและลหุจริงๆ และเป็นได้ แต่เฉพาะ ตรงที่บ่งไว้ เท่านั้น จะใช้ครุและลหุ ผิดที่ไม่ได้
คำ บ ก็ดี คำที่ประสมด้วย สระอำ ในแม่ ก กา ก็ดี ใช้เป็นลหุได้
แต่บัดนี้คำที่ประสมด้วยสระอำ ไม่ใคร่นิยมใช้ เพราะถือว่า เป็นเสียงที่มีตัวสะกดแฝงอยู่ด้วย

 

โครงสร้างอินทรวิเชียรฉันท์  ๑๑

โครงสร้างอินทรวิเชียรฉันท์ 11
ที่มา  http://www.thaigoodview.com/files/u31498/chan_intra11.gif

   ๏   พวกราชมัลโดย พลโบยมิใช่เบา
สุดหัตถแห่งเขา ขณะหวดสิพึงกลัว

 ๏   บงเนื้อก็เนื้อเต้น พิศเส้นสรีร์รัว
ทั่วร่างและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว 


         ๏   แลหลังละโลมโล- หิตโอ้เลอะหลั่งไป
เพ่งผาดอนาถใจ ระกะร่อยเพราะรอยหวาย 


          ๏   เนื่องนับอเนกแนว ระยะแถวตลอดลาย
เฆี่ยนครบสยบกาย สิรพับพะกับคา


                                 (สามัคคีเภทคำฉันท์)

HOME

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 275 คน กำลังออนไลน์