• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:db37db107adb53aa1c153e7377b0aea4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #0000ff\">ฝนดาวตก </span><u><span style=\"color: #0000ff\">(Meteor shower)</span>  </u></span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><strong>ฝนดาวตก</strong> คืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร <br />\n  <span lang=\"th\">  ปกติบนท้องฟ้าเราจะเห็นดาวตกเป็นประจำอยู่แล้ว</span>  </span><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"th\">มากบ้างน้อยบ้างไม่แน่นอน ซึ่งดาวตกเหล่านั้นคือเศษฝุ่นหรือสะเก็ดดาวชิ้นเล็กๆขนาดเท่าเม็ดทราย เมื่อเคลื่อนที่หรือล่องลอยเข้ามาแรงดึงดูดของโลก ก็จะถูกดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศด้วยความเร็วสูง เสียดสีและลุกไหม้หมดไป เป็นแสงเพียงวาบเดียว ที่ระดับความสูงหลายร้อยกิโลเมตรจากพื้นโลก ที่เราเรียกว่า ดาวตก หรือ ผีพุ่งใต้  <br />\n     แต่หากเศษฝุ่นเหล่านั้นมีขนาดใหญ่มาก และเผาไหม้ไม่หมดในชั้นบรรยากาศ ก็จะตกลงมาถึงพื้นโลกได้ เราจะเรียกว่า  อุกกาบาต<br />\n  </span><br />\n<b><span lang=\"th\">    </span>ฝนดาวตก</b> <span lang=\"th\">  จะแตกต่างจากดาวตกทั่วไป </span>คือ <span lang=\"th\">เป็น</span>ดาวตก<span lang=\"th\">ที่</span>มีปริมาณการตกมากกว่าหรือถี่กว่า<span lang=\"th\">ดาวตกปกติ โดยมี</span>ทิศทาง<span lang=\"th\">เหมือนมาจากจุดๆหนึ่งบนท้องฟ้าเหมือนกัน เรียกว่าจุดกำเนิด</span>(Radiant) <span lang=\"th\">เมื่อจุดกำเนิดนั้นตรงหรือใกล้เคียงกับกลุ่มดาวอะไร ก็จะเรียกชื่อฝนดาวตกตามกลุ่มดาวนั้นๆ หรือ ดาวที่อยู่ใกล้กลุ่มดาวนั้น เช่น ฝนดาวตกเปอร์เซอิด(กลุ่มดาวเปอร์เซอุส) หรือ ฝนดาวตกเอต้าอะควอลิด (ดาวเอต้าคนแบกหม้อน้ำ) แบบนี้เป็นต้น  ซึ่ง</span>ช่วงเวลา</span><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"th\">การตกนั้นสามารถกำหนดได้ เช่น ตรงกับวันที่เท่าไหร่ เวลาเท่าไหร่ เป็นต้น  <br />\n     ซึ่งมีฝนดาวตกบางชนิดที่มีปริมาณการตกน้อย คล้ายกับดาวตกทั่วไป แต่ก็มีบางชนิดที่มีปริมาณมาก และทิศทาง</span>ที่แน่นอน<span lang=\"th\"> </span>มีลักษณะคล้ายกับฝนตก จึงเรียกกันว่า ฝนดาวตก</span></p>\n<p><span lang=\"th\">     ดังนั้นหากจะพิจารณาว่า ที่เห็นเป็นฝนดาวตก หรือ ดาวตกปกติ  ให้พิจารณา ทิศทางการตก  วัน และ เวลา  หากตรงกับข้อมูลที่กำหนดไว้ก็ถือว่า ดาวตกที่เห็นเป็นฝนดาวตกในช่วงนั้น ซึ่งบางทีอาจจะมีปริมาณน้อยมากก็ตาม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"th\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"th\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"th\"></span></span></p>\n<table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"3\" cellSpacing=\"0\" style=\"border-collapse: collapse\" id=\"AutoNumber4\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"33%\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><img width=\"190\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteors.jpg\" alt=\"meteors\" height=\"225\" /></span><small><span style=\"font-size: small\"><br />\n ภาพตัวอย่างของฝนดาวตก</span></small></span></td>\n<td width=\"33%\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><br />\n <img border=\"0\" width=\"210\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteor.jpg\" height=\"140\" /><br />\n <span lang=\"th\">เมื่อเราถ่ายรูปโดยเปิดหน้ากล้องไว้นานๆ จะปรากฏฝนดาวตกเป็นจำนวนมากในเวลาสั้นๆ รูปนี้ถ่ายไว้นาน 20 นาที</span>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"213\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/leonid_fireball.jpg\" height=\"136\" /><br />\n <span lang=\"th\">ถ้ามีดาวตกบางดวงที่สว่างโดดเด่นเป็นเวลานานๆ เราจะเรียกว่า ไฟบอล </span>(Fire Ball)</p>\n<p>  </p></span></td>\n<td width=\"34%\"><span style=\"font-size: small; color: #0000ff; font-family: Tahoma\"><img border=\"0\" width=\"249\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/Meteor-Shower-small.jpg\" height=\"382\" style=\"width: 123px; height: 279px\" /><br />\n <span lang=\"th\">ภาพวาดจากการเล่าขานของฝนดาวตกลีโอมิดอันยิ่งใหญ่ เมื่อปี คศ.1833</span></span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><strong>ฝนดาวตกเกิดขึ้นได้อย่างไร<br />\n</strong> <span lang=\"th\">     </span>ฝนดาวตกเกิดขึ้นจากการที่วงโคจรของโลกได้เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในแนวเส้นทางที่ดาวหางเคยผ่านมาก่อนซึ่งจะทิ้งเศษซากก้อนหินแล<span lang=\"th\">ะ</span>ฝุ่นไว้มากมายในอวกาศ แล้วโลกก็ดูดฝุ่นผงเหล่านั้นตกลงมาในชั้นบรรยากาศของโลกอีก ซึ่งจะทำให้เกิดดาวตกมากเป็นพิเศษ<br />\n</span>                 <img border=\"0\" width=\"467\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteroidshower.jpg\" height=\"278\" /></span>\n</p>\n<p dir=\"ltr\">\n<span lang=\"th\"><span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\">      <span style=\"color: #000000\"> ดังนั้นฝนดาวตกแต่ละแบบจะมีแหล่งกำเนิดมาจากดาวหางที่ต่างดวงกันจึงประกอบด้วยสสารที่ต่างกันไป ตัวอย่างเช่นฝนดาวตกเปอร์เซอิดที่เกิดจากฝุ่นของ</span></span></span><span style=\"font-size: small; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #000000\">ดาวหาง Swift-Tuttle </span><span lang=\"th\"><span style=\"color: #000000\">นั้นส่วนใหญ่จะเห็นเป็นลูกไฟสว่างมากๆ เราเรียกว่า ไฟบอล  มากกว่าฝนดาวตกประเภทอื่นๆ <br />\n      นอกจากนี้ช่วงเวลาการเกิดฝนดาวตกเองก็มีส่วนสำคัญในการกำหนดลักษณะของฝนดาวตกด้วยเช่นกันโดยปกติแล้วดาวตกที่ผ่านเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลกนั้นจะมีความเร็วราว 71 กิโลเมตรต่อวินาที  <br />\n      ดังนั้นฝนดาวตกที่มีช่วงเวลาเกิดก่อนเที่ยงคืนหรือช่วงหัวค่ำ จะเป็นช่วงที่ดาวตกนั้นวิ่งสวนทางการหมุนรอบตัวเองของโลก เราจะเห็นดาวตกมีความเร็วสูง  แต่ถ้าฝนดาวตกเกิดหลังเที่ยงคืนไปแล้วหรือใกล้รุ่ง จะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งตามทิศทางการหมุนของโลก ความเร็วสัมผัสที่เกิดขึ้นจะต่ำ  เราจึงเห็นดาวตกช่วงใกล้รุ่งนั้นวิ่งค่อนข้างช้า  ดังรูป <br />\n</span>                               <img border=\"0\" width=\"300\" src=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/rotate.jpg\" height=\"260\" /></span><br />\n </span>\n</p>\n<p></p>\n<table border=\"0\" width=\"100%\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"border-collapse: collapse\" id=\"AutoNumber3\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"50%\"> </td>\n<td width=\"50%\">\n<p align=\"right\">\n <strong></strong>\n </p>\n<p align=\"right\">\n <strong></strong>\n </p>\n<p>\n <strong>แหล่งที่มาข้อมูล !</strong><a href=\"http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteorshower.htm\"><strong>http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteorshower.htm</strong></a>\n </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n', created = 1729428461, expire = 1729514861, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:db37db107adb53aa1c153e7377b0aea4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9a2954c8ac05d6bdd8d28a1111e8dcda' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nครูวิรัช แตรวดแล้วครับ\n</p>\n', created = 1729428461, expire = 1729514861, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9a2954c8ac05d6bdd8d28a1111e8dcda' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:232e6e047442a3881992e59fe8b9bd4e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><a href=\"/node/57872\">http://www.thaigoodview.com/node/57872</a> ฝากหน่อยย</p>\n', created = 1729428461, expire = 1729514861, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:232e6e047442a3881992e59fe8b9bd4e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฝนดาวตก :)

รูปภาพของ knw_32282

ฝนดาวตก (Meteor shower) 

ฝนดาวตก คืออะไร และเกิดขึ้นได้อย่างไร
    ปกติบนท้องฟ้าเราจะเห็นดาวตกเป็นประจำอยู่แล้ว 
มากบ้างน้อยบ้างไม่แน่นอน ซึ่งดาวตกเหล่านั้นคือเศษฝุ่นหรือสะเก็ดดาวชิ้นเล็กๆขนาดเท่าเม็ดทราย เมื่อเคลื่อนที่หรือล่องลอยเข้ามาแรงดึงดูดของโลก ก็จะถูกดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศด้วยความเร็วสูง เสียดสีและลุกไหม้หมดไป เป็นแสงเพียงวาบเดียว ที่ระดับความสูงหลายร้อยกิโลเมตรจากพื้นโลก ที่เราเรียกว่า ดาวตก หรือ ผีพุ่งใต้ 
     แต่หากเศษฝุ่นเหล่านั้นมีขนาดใหญ่มาก และเผาไหม้ไม่หมดในชั้นบรรยากาศ ก็จะตกลงมาถึงพื้นโลกได้ เราจะเรียกว่า  อุกกาบาต
 

    ฝนดาวตก   จะแตกต่างจากดาวตกทั่วไป คือ เป็นดาวตกที่มีปริมาณการตกมากกว่าหรือถี่กว่าดาวตกปกติ โดยมีทิศทางเหมือนมาจากจุดๆหนึ่งบนท้องฟ้าเหมือนกัน เรียกว่าจุดกำเนิด(Radiant) เมื่อจุดกำเนิดนั้นตรงหรือใกล้เคียงกับกลุ่มดาวอะไร ก็จะเรียกชื่อฝนดาวตกตามกลุ่มดาวนั้นๆ หรือ ดาวที่อยู่ใกล้กลุ่มดาวนั้น เช่น ฝนดาวตกเปอร์เซอิด(กลุ่มดาวเปอร์เซอุส) หรือ ฝนดาวตกเอต้าอะควอลิด (ดาวเอต้าคนแบกหม้อน้ำ) แบบนี้เป็นต้น  ซึ่งช่วงเวลา
การตกนั้นสามารถกำหนดได้ เช่น ตรงกับวันที่เท่าไหร่ เวลาเท่าไหร่ เป็นต้น 
     ซึ่งมีฝนดาวตกบางชนิดที่มีปริมาณการตกน้อย คล้ายกับดาวตกทั่วไป แต่ก็มีบางชนิดที่มีปริมาณมาก และทิศทาง
ที่แน่นอน มีลักษณะคล้ายกับฝนตก จึงเรียกกันว่า ฝนดาวตก

     ดังนั้นหากจะพิจารณาว่า ที่เห็นเป็นฝนดาวตก หรือ ดาวตกปกติ  ให้พิจารณา ทิศทางการตก  วัน และ เวลา  หากตรงกับข้อมูลที่กำหนดไว้ก็ถือว่า ดาวตกที่เห็นเป็นฝนดาวตกในช่วงนั้น ซึ่งบางทีอาจจะมีปริมาณน้อยมากก็ตาม

meteors
ภาพตัวอย่างของฝนดาวตก


เมื่อเราถ่ายรูปโดยเปิดหน้ากล้องไว้นานๆ จะปรากฏฝนดาวตกเป็นจำนวนมากในเวลาสั้นๆ รูปนี้ถ่ายไว้นาน 20 นาที


ถ้ามีดาวตกบางดวงที่สว่างโดดเด่นเป็นเวลานานๆ เราจะเรียกว่า ไฟบอล (Fire Ball)

 


ภาพวาดจากการเล่าขานของฝนดาวตกลีโอมิดอันยิ่งใหญ่ เมื่อปี คศ.1833

ฝนดาวตกเกิดขึ้นได้อย่างไร
      ฝนดาวตกเกิดขึ้นจากการที่วงโคจรของโลกได้เคลื่อนที่ผ่านเข้าไปในแนวเส้นทางที่ดาวหางเคยผ่านมาก่อนซึ่งจะทิ้งเศษซากก้อนหินแลฝุ่นไว้มากมายในอวกาศ แล้วโลกก็ดูดฝุ่นผงเหล่านั้นตกลงมาในชั้นบรรยากาศของโลกอีก ซึ่งจะทำให้เกิดดาวตกมากเป็นพิเศษ
                

       ดังนั้นฝนดาวตกแต่ละแบบจะมีแหล่งกำเนิดมาจากดาวหางที่ต่างดวงกันจึงประกอบด้วยสสารที่ต่างกันไป ตัวอย่างเช่นฝนดาวตกเปอร์เซอิดที่เกิดจากฝุ่นของดาวหาง Swift-Tuttle นั้นส่วนใหญ่จะเห็นเป็นลูกไฟสว่างมากๆ เราเรียกว่า ไฟบอล  มากกว่าฝนดาวตกประเภทอื่นๆ
      นอกจากนี้ช่วงเวลาการเกิดฝนดาวตกเองก็มีส่วนสำคัญในการกำหนดลักษณะของฝนดาวตกด้วยเช่นกันโดยปกติแล้วดาวตกที่ผ่านเข้ามาในชั้นบรรยากาศของโลกนั้นจะมีความเร็วราว 71 กิโลเมตรต่อวินาที 
      ดังนั้นฝนดาวตกที่มีช่วงเวลาเกิดก่อนเที่ยงคืนหรือช่วงหัวค่ำ จะเป็นช่วงที่ดาวตกนั้นวิ่งสวนทางการหมุนรอบตัวเองของโลก เราจะเห็นดาวตกมีความเร็วสูง  แต่ถ้าฝนดาวตกเกิดหลังเที่ยงคืนไปแล้วหรือใกล้รุ่ง จะเป็นช่วงที่ดาวตกวิ่งตามทิศทางการหมุนของโลก ความเร็วสัมผัสที่เกิดขึ้นจะต่ำ  เราจึงเห็นดาวตกช่วงใกล้รุ่งนั้นวิ่งค่อนข้างช้า  ดังรูป
                              

 

 

แหล่งที่มาข้อมูล !http://www.darasart.com/solarsystem/meteor/meteorshower.htm

รูปภาพของ virat

ครูวิรัช แตรวดแล้วครับ

รูปภาพของ knw_32282

http://www.thaigoodview.com/node/57872 ฝากหน่อยย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 396 คน กำลังออนไลน์