• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:823ea96788e1c261106259e029a8bf04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u><strong><span style=\"color: #003366\"> ประวัติของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์</span></strong></u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"377\" src=\"http://www.za-shi.com/arts12-1-2.jpg\" height=\"283\" style=\"width: 379px; height: 284px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span> <a href=\"http://www.za-shi.com/arts12-1-2.jpg\">http://www.za-shi.com/arts12-1-2.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff0000\"><strong>อักษรย่อ : </strong></span>  <span style=\"color: #ff00ff\">จุฬาฯ / CU </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                 <span style=\"color: #ff0000\"><strong> ชื่อภาษาอังกฤษ  : </strong></span>   <span style=\"color: #ff00ff\">Chulalongkorn University</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                     <span style=\"color: #ff0000\"><strong>วันสถาปนา   :</strong></span>     <span style=\"color: #ff00ff\">26 มีนาคม พ.ศ. 2459</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                <span style=\"color: #ff0000\"><strong> ประเภท  : </strong></span>   <span style=\"color: #ff00ff\">สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                    <span style=\"color: #ff0000\"><strong>นายกสภาฯ   :</strong></span>    <span style=\"color: #ff00ff\"> ศ.กิตติคุณ นพ.จรัส สุวรรณเวลา </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                      <span style=\"color: #ff0000\"><strong>อธิการบดี    :   </strong></span> <span style=\"color: #ff00ff\"> ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                <span style=\"color: #ff0000\"><strong>เพลงสถาบัน  :</strong></span>    <span style=\"color: #ff00ff\">เพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                      <span style=\"color: #ff0000\"><strong> สีประจำสถาบัน    :  </strong></span>    <span style=\"color: #ff00ff\">สีชมพู</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                            <span style=\"color: #ff0000\"><strong>ต้นไม้   :</strong></span>    <span style=\"color: #ff00ff\"> ต้นจามจุรี </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n                                                       <span style=\"color: #ff0000\"><strong>เว็บไซต์   :</strong></span>      <a href=\"http://www.chula.ac.th/\">www.chula.ac.th</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดจากโรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น ณ ตึกยาวข้างประตูพิมานชัยศรีในพระบรมมหาราชวังเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๒ [ประเทศไทยเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินสากลในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ (ค.ศ. ๑๙๔๐) ดังนั้น พ.ศ. กับ ค.ศ.ก่อนหน้านี้จึงเหลื่อมกันอยู่ ๑ ปี] และได้รับพระบรมราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนมหาดเล็ก เมื่อ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๕ ทั้งนี้เพื่อผลิตบุคลากรให้รับราชการซึ่งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลจากพระบรมราโชบายปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๕ ต่อ มาทั้งภาคราชการและเอกชนต้องการบุคลากรทำงานในสาขาวิชาต่างๆ กว้างขวางมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึงพระบรมราโช บายในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชที่จะ&quot;ให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นสำหรับเป็นสถาบันอุดม ศึกษาของชาวสยาม&quot;พอที่จะช่วยให้กิจการปกครองท้องที่ของกระทรวงมหาดไทยดำเนิน ไปได้ดีในระดับหนึ่งแล้วสมควรขยายการจัดการศึกษาเพื่อสนองความต้องการของ กระทรวง ทบวง กรมอื่น ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษา พระราชทานนามว่า &quot;โรงเรียน ข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว&quot; เมื่อ ๑ มกราคม ๒๔๕๓ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">ต่อ มาทรงเห็นว่าควรขยายกิจการให้กว้างขวางตามพระราชประสงค์เพื่อให้เป็นพระ บรมราชานุสาวรีย์อันยิ่งใหญ่และถาวรในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชพระองค์จึงได้ พระราชทานเงินทุนที่เหลือจากการที่ราษฎรได้เรี่ยไรเพื่อสร้างพระบรมราชานุ สาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าจำนวนเก้าแสนกว่าบาทให้ใช้เพื่อสร้างอาคารเรียนและ เป็นตึกบัญชาการบนที่ดินของพระคลังข้างที่จำนวน ๑,๓๐๙ ไร่ ซึ่งอยู่ที่อำเภอปทุมวัน และเงินที่เหลือจากการสร้างก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้เพื่อกิจการ ของโรงเรียนต่อไปทั้งนี้ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินและ ทรงวางศิลาพระฤกษ์ในการสร้างอาคารดังกล่าวเมื่อ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๘ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"> ใน ครั้งนั้นมีการเปิดสอน ๘ แผนกวิชา ได้แก่ การปกครอง กฎหมาย การฑูต การคลัง การแพทย์การช่าง การเกษตร และวิชาครู จัดการศึกษาใน ๕ โรงเรียน (คณะในปัจจุบัน) คือโรงเรียนรัฏฐประศาสนศาสตร์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวังโรงเรียนฝึกหัด อาจารย์ตั้งอยู่ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา โรงเรียนราชแพทยาลัยตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราชโรงเรียนเนติศึกษาตั้งอยู่ ที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา และโรงเรียนยันตรศึกษาตั้งที่วังใหม่หรือวังกลางทุ่ง หรือวังวินเซอร์ (เคยเป็นวังของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">ต่อ มาพระบาทสมเด็จพระมงกูฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริที่จะขยายการศึกษาในโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น คือ ไม่เฉพาะสำหรับผู้ที่จะเล่าเรียนเพื่อรับราชการเท่านั้น แต่จะรับผู้ซึ่งประสงค์จะศึกษาขั้นสูงให้เข้าเรียนได้ทั่วถึงกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรย์เฉลิมพระเกียรติแห่งสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ให้เจริญก้าวหน้ากว้างขวางแผ่ไพศาล และมิรู้เสื่อมสูญ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในช่วงแรกมีการจัดการศึกษาเป็น ๔ คณะ ได้แก่ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๙ - ๒๔๖๕ มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาระดับประกาศนียบัตร และการเตรียมการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญา มีการติดต่อกับมูลนิธิร็อกกี้ เฟลเลอร์ เพื่อให้ช่วยเหลือการเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์ จากนั้นระหว่าง พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๘๐ เริ่มรับผู้สำเร็จหลักสูตรมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนในคณะแพทยศาสตร์ขณะเดียว กันก็ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและรับนักเรียนผู้จบประโยคมัธยมบริบูรณ์เข้า เรียนอีก ๔ คณะ และในระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๑ - ๒๔๙๐ เริ่มเน้นการเรียนการสอนอันเป็นพื้นฐานของวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการจัดเตรียมมหาวิทยาลัยคือนักเรียนจะต้องเลือกเรียนตามคณะต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนทำให้มีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">หลัง จากนั้น ในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๕๐๓ เป็นระยะเวลาของการขยายการจัดการศึกษาออกไปในศาสตร์และศิลปวิทยาการต่างๆ โดยเน้นระดับปริญญาตรีเป็นหลัก และตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๔ จนถึงปัจจุบัน เป็นช่วงเวลาของการขยายการศึกษาระดับปริญญาตรีเพิ่มขึ้น และ เริ่มพัฒนาการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาส่งเสริมการค้นคว้า วิจัย การอนุรักษ์และสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมและการบริการทางวิชาการให้แก่สังคม มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยสถาบันบริการ และศูนย์ เพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาตนเอง ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ทุกวิถีทางให้สมกับเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของ สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงพระปิยมหาราชของพสกนิกรชาวไทยตลอดไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\"><strong><u> สัญลักษณ์ต่างๆของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"170\" src=\"http://www.chula.ac.th/images/pict/pict_sm_abt_sym1.jpg\" height=\"241\" style=\"width: 126px; height: 188px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>   <a href=\"http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_prakew.htm\">http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_prakew.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">พระเกี้ยวเป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศา หรือพระเศียรของพระราชโอรส และพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ คำว่า เกี้ยว ถ้าเป็นคำนามแปลว่า เครื่องประดับศีรษะหรือเครื่องสวมจุก ถ้าเป็นคำกริยาแปลว่าผูกรัดหรือพัน พระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ที่ชาวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภูมิใจทั้งนี้สืบเนื่องจากชื่อของมหาวิทยาลัยได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในสมเด็จพระปิยมหาราช ผู้พระราชทานกำเนิดมหาวิทยาลัยนี้ จุฬาลงกรณ์ แปลว่า เครื่องประดับศีรษะหรือจุลมงกุฎ จุลมงกุฎมี ความหมายสำคัญยิ่งคือเกี่ยวโยงถึงพระนามาภิไธยเดิม ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ จึงมีความหมายว่า จุลมงกุฎ หรือพระราชโอรสของสมเด็จฯเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ยิ่งกว่านั้น ยังมีความเกี่ยวพันถึงพระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีหมายความว่า &quot;พระจอมเกล้าน้อย&quot; พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดให้พระเกี้ยวเป็นพิจิตรเรขา (สัญลักษณ์) ประจำรัชกาลของพระองค์ เมื่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือนหรือโรงเรียนมหาดเล็ก จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระเกี้ยว เป็นเครื่องหมายหน้าหมวกของนักเรียน มหาดเล็ก ต่อมาเมื่อโรงเรียนมหาดเล็กกราบบังคมทูลขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตอัญเชิญพระเกี้ยวเป็น เครื่องหมายของโรงเรียนก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามที่กราบบังคมทูลขอพระราชทาน เมื่อโรงเรียนมหาดเล็กได้วิวัฒน์ขึ้นเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้บริหารก็ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนข้อความใต้พระเกี้ยวตามชื่อซึ่งได้รับพระราชทานใหม่ตลอดมา พระเกี้ยวองค์ที่ประดิษฐานอยู่ที่หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตึกจักรพงษ์ เป็นพระเกี้ยว ซึ่งมหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เพื่อสร้างจำลองจาก พระเกี้ยวจริงที่ประดิษฐานอยู่ในพระคลังมหาสมบัติในพระบรมมหาราชวัง มหาวิทยาลัยสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๙ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเจิม และทรงพระสุหร่ายที่องค์พระเกี้ยว แล้วพระราชทานแก่มหาวิทยาลัยต่อหน้าประชาคมจุฬาฯ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา๒๕๓๑ (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๓๒)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"170\" src=\"http://www.chula.ac.th/images/pict/pict_sm_abt_sym2.jpg\" height=\"241\" style=\"width: 134px; height: 178px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>   <a href=\"http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_pink.htm\">http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_pink.htm</a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">เนื่องจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือน หรือโรงเรียนมหาดเล็กครั้งนั้น ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้นักเรียนมหาดเล็ก แต่งเครื่องแบบมหาดเล็ก ซึ่งมีอินทรธนูเป็นสีบานเย็นอันเป็นสีของกรมมหาดเล็ก สีบานเย็น จึงเป็นสีประจำสถาบัน ต่อ มาเมื่อมีการแข่งขันฟุตบอลประเพณีครั้งแรก ระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณะกรรมการสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงพิจารณาสีที่จะใช้ในการแข่ง ขัน ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล เมื่อครั้งยังเป็นนิสิตและนายกสโมสรนิสิตฯ ได้เสนอว่าชื่อของมหาวิทยาลัยคือ พระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคารและโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สีชมพูเป็นสีประจำพระองค์ คณะกรรมการสโมสรนิสิตฯ เห็นสมควรอัญเชิญสีประจำพระองค์เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเกียรติและสิริมงคล มหาวิทยาลัยจึงใช้สีชมพูเป็นสีประจำมหาวิทยาลัยตลอดมา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"170\" src=\"http://www.chula.ac.th/images/pict/pict_sm_abt_sym3.jpg\" height=\"100\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"> ภาพจาก : </span> <a href=\"http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_chamjuree.htm\">http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_chamjuree.htm</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">&quot;จามจุรี&quot; เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจุฬาฯ มีความผูกพันกับชาวจุฬาฯ มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเป็นมหาวิทยาลัย ด้วยวัฏจักรของจามจุรีมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวจุฬาฯ กล่าวคือ มีสีเขียวชอุ่มให้ความสดชื่นในช่วงเวลาภาคต้นของการศึกษาเสมือนนิสิตปีที่ 1ที่ยังคงเริงร่าสนุกสนานกับการเป็นน้องใหม่ และเมื่อเวลาผ่านไปในภาคปลายของการศึกษา ทั้งใบและฝักย้ำเตือนให้นิสิตเตรียม ตัวสอบปลายปีมิฉะนั้นอาจจะต้องเรียนซ้ำชั้นหรือถูกไล่ออก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">ในวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ได้เสด็จพระราชดำเนิน ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระราชทานต้นจามจุรีแก่มหาวิทยาลัย จำนวน ๕ ต้น ซึ่งพระองค์ทรงนำมาจากพระราชวังไกลกังวล หัวหิน และทรงปลูกด้วยพระองค์เอง บริเวณด้านหน้าหอประชุมจุฬาฯ ฝั่งด้านสนามฟุตบอล ทางด้านขวา จำนวน ๓ ต้น ด้านซ้ายจำนวน ๒ ต้น และยังได้พระราชทานพระราชดำรัสถึงความผูกพันระหว่างชาวจุฬาฯ กับจามจุรีว่ามีมานานตั้งแต่สร้างมหาวิทยาลัย ทรงเน้นว่าดอกสีชมพูเป็นสัญลักษณ์สูงสุดอย่างหนึ่งของจุฬาฯ พระองค์ทรงเห็นว่าจามจุรีที่นำมานั้นโตขึ้น สมควรจะเข้ามหาวิทยาลัยเสียที และสถานที่นี้เหมาะสมที่สุด &quot;จึงขอฝากต้นไม้ไว้ห้าต้นให้เป็นเครื่องเตือนใจตลอดกาล&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">ต้มจามจุรีพระราชทานทั้ง ๕ ต้นนี้ จึงยืนอยู่แข็งแรง เป็นศรีสง่าและศิริมงคลแก่ชาวจุฬาฯ มาจนถึงปัจจุบันและในอนาคตสืบไป และเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลย์สิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี จุฬาฯ จึงตกแต่งลานจามจุรีพระราชทานเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดลานจามจุรีพระราชทานเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๓๙ เพื่อให้ลานจามจุรีพระราชทานนี้เป็นสิ่งเตือนใจให้ชาวจุฬาฯ สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเชื่อมั่นว่าลานจามจุรีพระราชทาน จะเป็นอนุสรณ์สถานแห่งหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ร้อยรัดความสามัคคีของชาวจุฬาฯตลอดไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">ชาวจุฬาฯ ยึดถือจามจุรีนี้เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มักเรียกกันว่า จามจุรีสีชมพู หรือจามจุรีศรีจุฬาฯ เมื่อถึงวันงานประเพณีต้อนรับน้องใหม่ทุก ๆ ปี นิสิตรุ่นพี่จะนำใบหรือกิ่งจามจุรีเล็ก ๆ มาผูกริบบิ้นสีชมพูคล้องคอให้นิสิตใหม่ เพื่อเป็นการต้อนรับเข้าสู่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาณาจักรแห่งจามจุรีสีชมพู<br />\n</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><img border=\"0\" width=\"170\" src=\"http://www.chula.ac.th/images/pict/pict_sm_abt_sym4.jpg\" height=\"100\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>   <a href=\"http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_gown.htm\">http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_gown.htm</a> <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">ลักษณะ สำคัญของเสื้อครุยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ ระยะระหว่างแถบหรือ &quot;ช่องไฟ&quot; และขนาดของแถบบนสำรด ซึ่งกำหนดเป็น ๒ ขนาดคือ ขนาดเล็กและใหญ่ มีระยะห่างกันอย่างประณีตตามแบบจิตรกรรมไทย ท่านอาจารย์ภาวาส บุนนาค ได้วิจารณ์งานศิลปะไทยบางชิ้นว่า เจ้าของผลงาน&quot;ไม่รู้ไวยากรณ์ศิลปะไทย&quot; หรือ &quot;เอาใจใส่ไวยากรณ์ศิลปะไทยน้อยไปหน่อย&quot; หากมองในด้านนี้ขอให้สังเกตเปรียบเทียบระยะระหว่างแถบแต่ละเส้นแต่ละกลุ่ม คงจะมีความเห็นตรงกันว่าแถบของสำรดของเสื้อครุยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น งามทั้งรูปแบบและองค์ประกอบของศิลปะไทยอีกเรื่องที่สำคัญคือ การจัดสีพื้นกับสีประจำคณะ สีของเส้นที่แสดงระดับของวุฒิคือ ปริญญาตรี ๑ เส้น ปริญญาโทและเอกใช้ ๒ และ ๓ เส้น ตามลำดับนั้นการให้สีและจัดองค์ประกอบงามสง่าอีกเช่นกัน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">สิ่งสำคัญที่ชาวจุฬาฯ ควรทราบคือ พื้นของสำรด ซึ่งบูรพาจารย์และศิลปินในอดีตได้เลือกสักหลาดเป็นพื้นสำรดสีดำ สำหรับบัณฑิตและมหาบัณฑิต ระดับดุษฎีบัณฑิตใช้พื้นสำรดสีแดงชาด และใช้สีเหลืองสำหรับฉลองพระองค์ครุยพระบรมราชูปถัมภก ท่านผู้รู้ทั้งศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี และประวัติศาสตร์ อธิบายว่า การใช้สีดำเป็นการถวายความเคารพแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันเสาร์ จึงโปรดเกล้าฯให้ใช้สีดำหรือน้ำเงินเข้มเป็นสีประจำพระองค์ การใช้สีแดงชาดเป็นการถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคาร พระองค์ท่านโปรดเกล้าฯให้ใช้สีชมพูเป็นสีประจำพระองค์ใช้สีบานเย็นสำหรับกรม มหาดเล็กและโรงเรียนมหาดเล็กใช้สีแดงชาดสำหรับสีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำ รัชกาล(เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า)แต่ในชั้นหลังต่อมาใช้สี ชมพู ส่วนการใช้สีเหลืองเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชจักรีวงศ์ และใช้กับฉลองพระองค์ครุยพระบรมราชูปถัมภกเท่านั้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"></span><span style=\"color: #ff00ff\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #003366\"><u><strong> เพลงของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์  </strong></u></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #003366\"> </span><span style=\"color: #0000ff\">ชื่อเพลงเรียงตามลำดับตัวอักษร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n- เกียรติภูมิจุฬาฯ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- ขวัญใจจุฬาฯ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- จามจุรีเกมส์\n</p>\n<p align=\"center\">\n- จามจุรีประดับใจ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- จามจุรีศรีจุฬาฯ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- จุฬาฯบันเทิง\n</p>\n<p align=\"center\">\n- ดาวจุฬาฯ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- เดินจุฬาฯ\n</p>\n<p align=\"center\">\n- เพชรชมพู\n</p>\n<p align=\"center\">\n- ไมตรี\n</p>\n<p align=\"center\">\n- ร่มเงาจามจุรี\n</p>\n<p align=\"center\">\n- ลาแล้วจามจุรี\n</p>\n<p align=\"center\">\n- C.U.POLKA\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nกลับไปยัง --&gt; <a href=\"/node/48314\">ประวัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715314314, expire = 1715400714, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:823ea96788e1c261106259e029a8bf04' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

รูปภาพของ NERIYA

 ประวัติของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

 

ภาพจาก : http://www.za-shi.com/arts12-1-2.jpg

 

 อักษรย่อ :   จุฬาฯ / CU

                                                  ชื่อภาษาอังกฤษ  :    Chulalongkorn University

                                                     วันสถาปนา   :     26 มีนาคม พ.ศ. 2459

                                                 ประเภท  :    สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล

                                                    นายกสภาฯ   :     ศ.กิตติคุณ นพ.จรัส สุวรรณเวลา

                                                      อธิการบดี    :     ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล

                                                เพลงสถาบัน  :    เพลงพระราชนิพนธ์ มหาจุฬาลงกรณ์

                                                       สีประจำสถาบัน    :      สีชมพู

                                                            ต้นไม้   :     ต้นจามจุรี

                                                       เว็บไซต์   :      www.chula.ac.th

 

 

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดจากโรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งขึ้น ณ ตึกยาวข้างประตูพิมานชัยศรีในพระบรมมหาราชวังเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๒ [ประเทศไทยเปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ตามปฏิทินสากลในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ (ค.ศ. ๑๙๔๐) ดังนั้น พ.ศ. กับ ค.ศ.ก่อนหน้านี้จึงเหลื่อมกันอยู่ ๑ ปี] และได้รับพระบรมราชานุญาตให้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนมหาดเล็ก เมื่อ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๕ ทั้งนี้เพื่อผลิตบุคลากรให้รับราชการซึ่งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลจากพระบรมราโชบายปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดินเมื่อ พ.ศ.๒๔๒๕ ต่อ มาทั้งภาคราชการและเอกชนต้องการบุคลากรทำงานในสาขาวิชาต่างๆ กว้างขวางมากขึ้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระอนุสรณ์คำนึงถึงพระบรมราโช บายในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชที่จะ"ให้มีมหาวิทยาลัยขึ้นสำหรับเป็นสถาบันอุดม ศึกษาของชาวสยาม"พอที่จะช่วยให้กิจการปกครองท้องที่ของกระทรวงมหาดไทยดำเนิน ไปได้ดีในระดับหนึ่งแล้วสมควรขยายการจัดการศึกษาเพื่อสนองความต้องการของ กระทรวง ทบวง กรมอื่น ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สถาปนาโรงเรียนมหาดเล็กเป็นสถาบันอุดมศึกษา พระราชทานนามว่า "โรงเรียน ข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" เมื่อ ๑ มกราคม ๒๔๕๓


ต่อ มาทรงเห็นว่าควรขยายกิจการให้กว้างขวางตามพระราชประสงค์เพื่อให้เป็นพระ บรมราชานุสาวรีย์อันยิ่งใหญ่และถาวรในสมเด็จพระบรมชนกาธิราชพระองค์จึงได้ พระราชทานเงินทุนที่เหลือจากการที่ราษฎรได้เรี่ยไรเพื่อสร้างพระบรมราชานุ สาวรีย์พระบรมรูปทรงม้าจำนวนเก้าแสนกว่าบาทให้ใช้เพื่อสร้างอาคารเรียนและ เป็นตึกบัญชาการบนที่ดินของพระคลังข้างที่จำนวน ๑,๓๐๙ ไร่ ซึ่งอยู่ที่อำเภอปทุมวัน และเงินที่เหลือจากการสร้างก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้เพื่อกิจการ ของโรงเรียนต่อไปทั้งนี้ได้พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินและ ทรงวางศิลาพระฤกษ์ในการสร้างอาคารดังกล่าวเมื่อ ๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๘

 ใน ครั้งนั้นมีการเปิดสอน ๘ แผนกวิชา ได้แก่ การปกครอง กฎหมาย การฑูต การคลัง การแพทย์การช่าง การเกษตร และวิชาครู จัดการศึกษาใน ๕ โรงเรียน (คณะในปัจจุบัน) คือโรงเรียนรัฏฐประศาสนศาสตร์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวังโรงเรียนฝึกหัด อาจารย์ตั้งอยู่ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา โรงเรียนราชแพทยาลัยตั้งอยู่ที่โรงพยาบาลศิริราชโรงเรียนเนติศึกษาตั้งอยู่ ที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา และโรงเรียนยันตรศึกษาตั้งที่วังใหม่หรือวังกลางทุ่ง หรือวังวินเซอร์ (เคยเป็นวังของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ)

ต่อ มาพระบาทสมเด็จพระมงกูฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริที่จะขยายการศึกษาในโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น คือ ไม่เฉพาะสำหรับผู้ที่จะเล่าเรียนเพื่อรับราชการเท่านั้น แต่จะรับผู้ซึ่งประสงค์จะศึกษาขั้นสูงให้เข้าเรียนได้ทั่วถึงกัน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๙ เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรย์เฉลิมพระเกียรติแห่งสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ให้เจริญก้าวหน้ากว้างขวางแผ่ไพศาล และมิรู้เสื่อมสูญ

จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยในช่วงแรกมีการจัดการศึกษาเป็น ๔ คณะ ได้แก่ คณะรัฐประศาสนศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๙ - ๒๔๖๕ มีการปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาระดับประกาศนียบัตร และการเตรียมการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญา มีการติดต่อกับมูลนิธิร็อกกี้ เฟลเลอร์ เพื่อให้ช่วยเหลือการเรียนการสอนของคณะแพทยศาสตร์ จากนั้นระหว่าง พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๘๐ เริ่มรับผู้สำเร็จหลักสูตรมัธยมบริบูรณ์เข้าเรียนในคณะแพทยศาสตร์ขณะเดียว กันก็ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและรับนักเรียนผู้จบประโยคมัธยมบริบูรณ์เข้า เรียนอีก ๔ คณะ และในระหว่างปี พ.ศ.๒๔๘๑ - ๒๔๙๐ เริ่มเน้นการเรียนการสอนอันเป็นพื้นฐานของวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการจัดเตรียมมหาวิทยาลัยคือนักเรียนจะต้องเลือกเรียนตามคณะต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนทำให้มีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยขึ้น

หลัง จากนั้น ในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๔๙๑ - ๒๕๐๓ เป็นระยะเวลาของการขยายการจัดการศึกษาออกไปในศาสตร์และศิลปวิทยาการต่างๆ โดยเน้นระดับปริญญาตรีเป็นหลัก และตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๔ จนถึงปัจจุบัน เป็นช่วงเวลาของการขยายการศึกษาระดับปริญญาตรีเพิ่มขึ้น และ เริ่มพัฒนาการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาส่งเสริมการค้นคว้า วิจัย การอนุรักษ์และสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมและการบริการทางวิชาการให้แก่สังคม มีการจัดตั้งสถาบันวิจัยสถาบันบริการ และศูนย์ เพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยและพัฒนาตนเอง ให้ดีที่สุดเท่าที่จะทำได้ทุกวิถีทางให้สมกับเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของ สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงพระปิยมหาราชของพสกนิกรชาวไทยตลอดไป

 

 

 

 สัญลักษณ์ต่างๆของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

 

ภาพจาก :   http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_prakew.htm

 

พระเกี้ยวเป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศา หรือพระเศียรของพระราชโอรส และพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ คำว่า เกี้ยว ถ้าเป็นคำนามแปลว่า เครื่องประดับศีรษะหรือเครื่องสวมจุก ถ้าเป็นคำกริยาแปลว่าผูกรัดหรือพัน พระเกี้ยวเป็นสัญลักษณ์ที่ชาวจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภูมิใจทั้งนี้สืบเนื่องจากชื่อของมหาวิทยาลัยได้รับ พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ในสมเด็จพระปิยมหาราช ผู้พระราชทานกำเนิดมหาวิทยาลัยนี้ จุฬาลงกรณ์ แปลว่า เครื่องประดับศีรษะหรือจุลมงกุฎ จุลมงกุฎมี ความหมายสำคัญยิ่งคือเกี่ยวโยงถึงพระนามาภิไธยเดิม ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎฯ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ จึงมีความหมายว่า จุลมงกุฎ หรือพระราชโอรสของสมเด็จฯเจ้าฟ้ามงกุฎฯ ยิ่งกว่านั้น ยังมีความเกี่ยวพันถึงพระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กำหนดให้พระเกี้ยวเป็นพิจิตรเรขา (สัญลักษณ์) ประจำรัชกาลของพระองค์ เมื่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือนหรือโรงเรียนมหาดเล็ก จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระเกี้ยว เป็นเครื่องหมายหน้าหมวกของนักเรียน มหาดเล็ก ต่อมาเมื่อโรงเรียนมหาดเล็กกราบบังคมทูลขอพระราชทาน พระบรมราชานุญาตอัญเชิญพระเกี้ยวเป็น เครื่องหมายของโรงเรียนก็ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาต ตามที่กราบบังคมทูลขอพระราชทาน เมื่อโรงเรียนมหาดเล็กได้วิวัฒน์ขึ้นเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้บริหารก็ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต เปลี่ยนข้อความใต้พระเกี้ยวตามชื่อซึ่งได้รับพระราชทานใหม่ตลอดมา พระเกี้ยวองค์ที่ประดิษฐานอยู่ที่หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตึกจักรพงษ์ เป็นพระเกี้ยว ซึ่งมหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เพื่อสร้างจำลองจาก พระเกี้ยวจริงที่ประดิษฐานอยู่ในพระคลังมหาสมบัติในพระบรมมหาราชวัง มหาวิทยาลัยสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๙ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงเจิม และทรงพระสุหร่ายที่องค์พระเกี้ยว แล้วพระราชทานแก่มหาวิทยาลัยต่อหน้าประชาคมจุฬาฯ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา๒๕๓๑ (๑๓ กรกฎาคม ๒๕๓๒)

ภาพจาก :   http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_pink.htm 

 

เนื่องจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนฝึกหัดข้าราชการพลเรือน หรือโรงเรียนมหาดเล็กครั้งนั้น ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้นักเรียนมหาดเล็ก แต่งเครื่องแบบมหาดเล็ก ซึ่งมีอินทรธนูเป็นสีบานเย็นอันเป็นสีของกรมมหาดเล็ก สีบานเย็น จึงเป็นสีประจำสถาบัน ต่อ มาเมื่อมีการแข่งขันฟุตบอลประเพณีครั้งแรก ระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณะกรรมการสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงพิจารณาสีที่จะใช้ในการแข่ง ขัน ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกุล เมื่อครั้งยังเป็นนิสิตและนายกสโมสรนิสิตฯ ได้เสนอว่าชื่อของมหาวิทยาลัยคือ พระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคารและโปรดเกล้าฯ ให้ใช้สีชมพูเป็นสีประจำพระองค์ คณะกรรมการสโมสรนิสิตฯ เห็นสมควรอัญเชิญสีประจำพระองค์เป็นสีประจำมหาวิทยาลัย เพื่อเป็นเกียรติและสิริมงคล มหาวิทยาลัยจึงใช้สีชมพูเป็นสีประจำมหาวิทยาลัยตลอดมา

 

 

 ภาพจาก :  http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_chamjuree.htm

 

"จามจุรี" เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ถือเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจุฬาฯ มีความผูกพันกับชาวจุฬาฯ มาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเป็นมหาวิทยาลัย ด้วยวัฏจักรของจามจุรีมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชาวจุฬาฯ กล่าวคือ มีสีเขียวชอุ่มให้ความสดชื่นในช่วงเวลาภาคต้นของการศึกษาเสมือนนิสิตปีที่ 1ที่ยังคงเริงร่าสนุกสนานกับการเป็นน้องใหม่ และเมื่อเวลาผ่านไปในภาคปลายของการศึกษา ทั้งใบและฝักย้ำเตือนให้นิสิตเตรียม ตัวสอบปลายปีมิฉะนั้นอาจจะต้องเรียนซ้ำชั้นหรือถูกไล่ออก

ในวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๐๕ พระบาทสมเด็จพระปร มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ได้เสด็จพระราชดำเนิน ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระราชทานต้นจามจุรีแก่มหาวิทยาลัย จำนวน ๕ ต้น ซึ่งพระองค์ทรงนำมาจากพระราชวังไกลกังวล หัวหิน และทรงปลูกด้วยพระองค์เอง บริเวณด้านหน้าหอประชุมจุฬาฯ ฝั่งด้านสนามฟุตบอล ทางด้านขวา จำนวน ๓ ต้น ด้านซ้ายจำนวน ๒ ต้น และยังได้พระราชทานพระราชดำรัสถึงความผูกพันระหว่างชาวจุฬาฯ กับจามจุรีว่ามีมานานตั้งแต่สร้างมหาวิทยาลัย ทรงเน้นว่าดอกสีชมพูเป็นสัญลักษณ์สูงสุดอย่างหนึ่งของจุฬาฯ พระองค์ทรงเห็นว่าจามจุรีที่นำมานั้นโตขึ้น สมควรจะเข้ามหาวิทยาลัยเสียที และสถานที่นี้เหมาะสมที่สุด "จึงขอฝากต้นไม้ไว้ห้าต้นให้เป็นเครื่องเตือนใจตลอดกาล"

ต้มจามจุรีพระราชทานทั้ง ๕ ต้นนี้ จึงยืนอยู่แข็งแรง เป็นศรีสง่าและศิริมงคลแก่ชาวจุฬาฯ มาจนถึงปัจจุบันและในอนาคตสืบไป และเนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลย์สิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี จุฬาฯ จึงตกแต่งลานจามจุรีพระราชทานเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของโครงการเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดลานจามจุรีพระราชทานเมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๓๙ เพื่อให้ลานจามจุรีพระราชทานนี้เป็นสิ่งเตือนใจให้ชาวจุฬาฯ สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเชื่อมั่นว่าลานจามจุรีพระราชทาน จะเป็นอนุสรณ์สถานแห่งหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ร้อยรัดความสามัคคีของชาวจุฬาฯตลอดไป

ชาวจุฬาฯ ยึดถือจามจุรีนี้เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มักเรียกกันว่า จามจุรีสีชมพู หรือจามจุรีศรีจุฬาฯ เมื่อถึงวันงานประเพณีต้อนรับน้องใหม่ทุก ๆ ปี นิสิตรุ่นพี่จะนำใบหรือกิ่งจามจุรีเล็ก ๆ มาผูกริบบิ้นสีชมพูคล้องคอให้นิสิตใหม่ เพื่อเป็นการต้อนรับเข้าสู่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาณาจักรแห่งจามจุรีสีชมพู

ภาพจาก :   http://www.chula.ac.th/about/thai/symbol_gown.htm

ลักษณะ สำคัญของเสื้อครุยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คือ ระยะระหว่างแถบหรือ "ช่องไฟ" และขนาดของแถบบนสำรด ซึ่งกำหนดเป็น ๒ ขนาดคือ ขนาดเล็กและใหญ่ มีระยะห่างกันอย่างประณีตตามแบบจิตรกรรมไทย ท่านอาจารย์ภาวาส บุนนาค ได้วิจารณ์งานศิลปะไทยบางชิ้นว่า เจ้าของผลงาน"ไม่รู้ไวยากรณ์ศิลปะไทย" หรือ "เอาใจใส่ไวยากรณ์ศิลปะไทยน้อยไปหน่อย" หากมองในด้านนี้ขอให้สังเกตเปรียบเทียบระยะระหว่างแถบแต่ละเส้นแต่ละกลุ่ม คงจะมีความเห็นตรงกันว่าแถบของสำรดของเสื้อครุยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนั้น งามทั้งรูปแบบและองค์ประกอบของศิลปะไทยอีกเรื่องที่สำคัญคือ การจัดสีพื้นกับสีประจำคณะ สีของเส้นที่แสดงระดับของวุฒิคือ ปริญญาตรี ๑ เส้น ปริญญาโทและเอกใช้ ๒ และ ๓ เส้น ตามลำดับนั้นการให้สีและจัดองค์ประกอบงามสง่าอีกเช่นกัน

สิ่งสำคัญที่ชาวจุฬาฯ ควรทราบคือ พื้นของสำรด ซึ่งบูรพาจารย์และศิลปินในอดีตได้เลือกสักหลาดเป็นพื้นสำรดสีดำ สำหรับบัณฑิตและมหาบัณฑิต ระดับดุษฎีบัณฑิตใช้พื้นสำรดสีแดงชาด และใช้สีเหลืองสำหรับฉลองพระองค์ครุยพระบรมราชูปถัมภก ท่านผู้รู้ทั้งศิลปะ ขนบธรรมเนียมประเพณี และประวัติศาสตร์ อธิบายว่า การใช้สีดำเป็นการถวายความเคารพแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันเสาร์ จึงโปรดเกล้าฯให้ใช้สีดำหรือน้ำเงินเข้มเป็นสีประจำพระองค์ การใช้สีแดงชาดเป็นการถวายความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว ซึ่งมีพระบรมราชสมภพในวันอังคาร พระองค์ท่านโปรดเกล้าฯให้ใช้สีชมพูเป็นสีประจำพระองค์ใช้สีบานเย็นสำหรับกรม มหาดเล็กและโรงเรียนมหาดเล็กใช้สีแดงชาดสำหรับสีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำ รัชกาล(เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า)แต่ในชั้นหลังต่อมาใช้สี ชมพู ส่วนการใช้สีเหลืองเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบรมราชจักรีวงศ์ และใช้กับฉลองพระองค์ครุยพระบรมราชูปถัมภกเท่านั้น


 เพลงของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ 

 ชื่อเพลงเรียงตามลำดับตัวอักษร

- เกียรติภูมิจุฬาฯ

- ขวัญใจจุฬาฯ

- จามจุรีเกมส์

- จามจุรีประดับใจ

- จามจุรีศรีจุฬาฯ

- จุฬาฯบันเทิง

- ดาวจุฬาฯ

- เดินจุฬาฯ

- เพชรชมพู

- ไมตรี

- ร่มเงาจามจุรี

- ลาแล้วจามจุรี

- C.U.POLKA

 

กลับไปยัง --> ประวัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ

 

 

สร้างโดย: 
คุณครู รุจี อภัยพลชาญ และ น.ส.เณริญา ยวดขุนทด ม.6/5 เลขที่ 28

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 362 คน กำลังออนไลน์