• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f15879ec981fe2b907884084c66e0d7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"><b>อาหารภาคอีสาน</b></span>\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #0000ff\">อาหารภาคอีสาน</span> </span>(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มีรสชาติเด่น คือ รสเค็มจากน้ำปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสด พริกแห้ง รสเปรี้ยวจากผักพื้นบ้าน เช่น มะขาม มะกอก อาหารส่วนใหญ่มีลักษณะแห้ง ข้น มีน้ำขลุกขลิก แต่ไม่ชอบใส่กะทิ คนอีสานใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงอาหารแทบทุกชนิด เช่น ซุปหน่อไม้ อ่อม หมก น้ำพริกต่างๆ รวมทั้งส้มตำ อาหารอีสานที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ปลาร้าบ้อง ที่อุดมด้วยพืชสมุนไพร เช่น ข่า ตะไคร้ หอมแดง กระเทียม ใบมะกรูด มะขามเปียก หรืออย่างแกงอ่อม ที่เน้นการใช้ผักหลายชนิดตามฤดูกาลเป็นหลัก รสชาติของแกงอ่อมจึงออกรสหวานของผักต่างๆ รสเผ็ดของพริก กลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักชีลาว หรืออย่างต้มแซบ ที่มีน้ำแกงอันอุดมด้วยรสชาติและกลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักสมุนไพรเช่นกัน\n</p>\n<p>\n          <span style=\"color: #0000ff\">อาหารภาคอีสาน</span>  (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)   มีรสชาติเด่น  คือ  รสเค็มจากน้ำปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสด พริกแห้ง รสเปรี้ยวจากผักพื้นบ้าน  เช่น  มะขาม  มะกอก   อาหารส่วนใหญ่มีลักษณะแห้ง ข้น มีน้ำขลุกขลิก แต่ไม่ชอบใส่กะทิ   คนอีสานใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงอาหารแทบทุกชนิด  เช่น ซุปหน่อไม้  อ่อม  หมก  น้ำพริกต่างๆ  รวมทั้งส้มตำ</p>\n<p> </p>\n<p>          <span style=\"color: #0000ff\">อาหารอีสานที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย</span>    ได้แก่   ปลาร้าบ้อง  อุดมด้วยพืชสมุนไพร    เช่น   ข่า  ตะไคร้   หอมแดง  กระเทียม<br />\nใบมะกรูด    มะขามเปียก    หรืออย่างแกงอ่อมที่เน้นการใช้ผักหลายชนิดตามฤดูกาลเป็นหลัก รสชาติของแกงอ่อมจึงออกรสหวาน<br />\nของผักต่างๆ รสเผ็ดของพริก กลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักชีลาวหรืออย่างต้มแซบที่มีน้ำแกงอันอุดมด้วยรสชาติและกลิ่นหอมของ<br />\nของเครื่องเทศและผักสมุนไพรเช่นกัน   คนอีสานจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก และโดยทั่วไปจะนึ่งข้าวเหนียวด้วยหวด        หวด  คือภาชนะที่เป็นรูปกรวย  ทำด้วยไม้ไผ่ซึ่งจะต้องใช้คู่กับหม้อทรงกระบอก</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\"></span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\">เครื่องปรุงรสในอาหารอีสาน</span></b>\n</p>\n<p>\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ปลาร้า</span></p>\n<p>      คนอีสานจะทำปลาร้ารับประทานในบ้าน ไม่นิยมซื้อ เมื่อสมาชิกในบ้านออกหาปลา จับกบ ซึ่งอาจจะได้ปลามากเหลือรับประทานก็จะทำปลาร้า ปลาตากแห้ง เป็นการถนอมอาหารไว้รับประทานในมื้ออื่น ๆ  ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสในอาหารอีสานเกือบทุกชนิด  ใช้ใส่ผสมได้ทั้งแกง หมก อ่อม น้ำพริกต่าง ๆ แต่ไม่นิยมใส่ในอาหารประเภทผัด</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ข้าวเบือ</span></p>\n<p>       คือการนำข้าวเหนียวมาแช่น้ำไว้สักพักใหญ่   ให้เมล็ดข้าวเหนียวอ่อนนุ่ม    สงให้สะเด็ดน้ำ   แล้วนำมาโขลกให้ละเอียด  ใช้ในอาหารหลายอย่าง  เช่น   หมกหน่อไม้  แกงย่านาง   แกงอ่อม ข้าวเบือจะช่วยให้อาหารหนืดเหนียว   น่ารับประทาน</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ข้าวคั่ว</span></p>\n<p>        คือการนำข้าวเหนียวข้าวสาร และควรเป็นข้าวสารใหม่ คั่วในกระทะ ใช้ไฟอ่อน คั่วให้ทั่ว พลิกไปมาจนข้าวเหนียวมีสีเหลืองอ่อน และมีกลิ่นหอม ตักขึ้น  พักไว้ให้เย็นจึงนำมาโขลกให้ละเอียดใช้กับอาหารหลายอย่าง  เช่น ลาบ น้ำตก  ข้าวคั่วช่วยให้อาหารมีกลิ่นหอม ชวนรับประทาน และทำให้น้ำในอาหารข้นขึ้น ข้าวคั่วไม่นิยมทำเก็บไว้นาน ๆ เพราะนอกจากจะไม่มีกลิ่นหอมแล้ว ยังอาจทำให้รสชาติของอาหารนั้นด้อยลงไปอีก</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">พริกป่น</span></p>\n<p>        คือการนำพริกขี้หนูหรือพริกทางภาคอีสาน ซึ่งจะมีรสเผ็ดมาก ตากแห้ง แล้วคั่วในกระทะโดยใช้ไฟอ่อนให้หอมฉุนตักขึ้นพักไว้ให้เย็น แล้วโขลกให้ละเอียด พริกป่นเป็นเครื่องปรุงรสอีกชนิดหนึ่งที่ใช้กันมาก  เพราะคนอีสานรับประทานรสเผ็ดจัด เค็มจัด พริกป่นใช้กับอาหารทุกชนิด</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ผักติ้วหรือผักแต้ว</span></p>\n<p>           จะมีรสเปรี้ยว รับประทานกับลาบ จิ้มน้ำพริก รับประทานกับอาหารที่มีรสเผ็ด</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ยอดจิก</span></p>\n<p>           คล้ายใบหูกวาง รับประทานกับลาบ</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ผักแว่น</span></p>\n<p>           ขึ้นอยู่ในน้ำ รับประทานกับลาบ ก้อย น้ำพริก</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ผักแขยง</span></p>\n<p>           ใช้ใส่แกง ดับกลิ่นคาว แกงปลา กินกับส้มตำ</p>\n<p> <br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\">+</span>ผักเม็ก</span></p>\n<p>           มีรสเปรี้ยว รับประทานกับลาบ ก้อย</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">สายบัวเล็ก</span></p>\n<p>           มีสีม่วง เส้นเล็ก ใช้จิ้มน้ำพริก</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ผักชีน้ำ</span></p>\n<p>           คล้ายใบขึ้นฉ่าย แต่ใบจะเล็กกว่า</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">ผักแพว</span></p>\n<p>           ต้นและใบมีกลิ่นหอม ใบอ่อนและกิ่งรับประทานกับลาบ ก้อย</p>\n<p> <br />\n+<span style=\"color: #ff00ff\">หน่อไม้รวก</span></p>\n<p>           คือ หน่อไม้ที่ขึ้นตามป่าเขา นำมาเผา แล้วจึงนำไปประกอบอาหาร</p>\n<p> <br />\n+เ<span style=\"color: #ff00ff\">ห็ดป่าต่าง ๆ</span></p>\n<p>           นิยมนำมาแกง หมก<br />\n \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                           <a href=\"/node/43461\"><img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/files/u18654/orback.gif\" height=\"44\" /></a>            <a href=\"/node/51333\"><img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/files/u18654/next.gif\" height=\"42\" /></a>\n</p>\n', created = 1715620240, expire = 1715706640, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f15879ec981fe2b907884084c66e0d7f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อาหารไทยภาคอีสาน

อาหารภาคอีสาน

          อาหารภาคอีสาน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) มีรสชาติเด่น คือ รสเค็มจากน้ำปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสด พริกแห้ง รสเปรี้ยวจากผักพื้นบ้าน เช่น มะขาม มะกอก อาหารส่วนใหญ่มีลักษณะแห้ง ข้น มีน้ำขลุกขลิก แต่ไม่ชอบใส่กะทิ คนอีสานใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงอาหารแทบทุกชนิด เช่น ซุปหน่อไม้ อ่อม หมก น้ำพริกต่างๆ รวมทั้งส้มตำ อาหารอีสานที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ปลาร้าบ้อง ที่อุดมด้วยพืชสมุนไพร เช่น ข่า ตะไคร้ หอมแดง กระเทียม ใบมะกรูด มะขามเปียก หรืออย่างแกงอ่อม ที่เน้นการใช้ผักหลายชนิดตามฤดูกาลเป็นหลัก รสชาติของแกงอ่อมจึงออกรสหวานของผักต่างๆ รสเผ็ดของพริก กลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักชีลาว หรืออย่างต้มแซบ ที่มีน้ำแกงอันอุดมด้วยรสชาติและกลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักสมุนไพรเช่นกัน

          อาหารภาคอีสาน  (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)   มีรสชาติเด่น  คือ  รสเค็มจากน้ำปลาร้า รสเผ็ดจากพริกสด พริกแห้ง รสเปรี้ยวจากผักพื้นบ้าน  เช่น  มะขาม  มะกอก   อาหารส่วนใหญ่มีลักษณะแห้ง ข้น มีน้ำขลุกขลิก แต่ไม่ชอบใส่กะทิ   คนอีสานใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงอาหารแทบทุกชนิด  เช่น ซุปหน่อไม้  อ่อม  หมก  น้ำพริกต่างๆ  รวมทั้งส้มตำ

 

          อาหารอีสานที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย    ได้แก่   ปลาร้าบ้อง  อุดมด้วยพืชสมุนไพร    เช่น   ข่า  ตะไคร้   หอมแดง  กระเทียม
ใบมะกรูด    มะขามเปียก    หรืออย่างแกงอ่อมที่เน้นการใช้ผักหลายชนิดตามฤดูกาลเป็นหลัก รสชาติของแกงอ่อมจึงออกรสหวาน
ของผักต่างๆ รสเผ็ดของพริก กลิ่นหอมของเครื่องเทศและผักชีลาวหรืออย่างต้มแซบที่มีน้ำแกงอันอุดมด้วยรสชาติและกลิ่นหอมของ
ของเครื่องเทศและผักสมุนไพรเช่นกัน   คนอีสานจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก และโดยทั่วไปจะนึ่งข้าวเหนียวด้วยหวด        หวด  คือภาชนะที่เป็นรูปกรวย  ทำด้วยไม้ไผ่ซึ่งจะต้องใช้คู่กับหม้อทรงกระบอก

 

เครื่องปรุงรสในอาหารอีสาน

+ปลาร้า

      คนอีสานจะทำปลาร้ารับประทานในบ้าน ไม่นิยมซื้อ เมื่อสมาชิกในบ้านออกหาปลา จับกบ ซึ่งอาจจะได้ปลามากเหลือรับประทานก็จะทำปลาร้า ปลาตากแห้ง เป็นการถนอมอาหารไว้รับประทานในมื้ออื่น ๆ  ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสในอาหารอีสานเกือบทุกชนิด  ใช้ใส่ผสมได้ทั้งแกง หมก อ่อม น้ำพริกต่าง ๆ แต่ไม่นิยมใส่ในอาหารประเภทผัด

 
+ข้าวเบือ

       คือการนำข้าวเหนียวมาแช่น้ำไว้สักพักใหญ่   ให้เมล็ดข้าวเหนียวอ่อนนุ่ม    สงให้สะเด็ดน้ำ   แล้วนำมาโขลกให้ละเอียด  ใช้ในอาหารหลายอย่าง  เช่น   หมกหน่อไม้  แกงย่านาง   แกงอ่อม ข้าวเบือจะช่วยให้อาหารหนืดเหนียว   น่ารับประทาน

 
+ข้าวคั่ว

        คือการนำข้าวเหนียวข้าวสาร และควรเป็นข้าวสารใหม่ คั่วในกระทะ ใช้ไฟอ่อน คั่วให้ทั่ว พลิกไปมาจนข้าวเหนียวมีสีเหลืองอ่อน และมีกลิ่นหอม ตักขึ้น  พักไว้ให้เย็นจึงนำมาโขลกให้ละเอียดใช้กับอาหารหลายอย่าง  เช่น ลาบ น้ำตก  ข้าวคั่วช่วยให้อาหารมีกลิ่นหอม ชวนรับประทาน และทำให้น้ำในอาหารข้นขึ้น ข้าวคั่วไม่นิยมทำเก็บไว้นาน ๆ เพราะนอกจากจะไม่มีกลิ่นหอมแล้ว ยังอาจทำให้รสชาติของอาหารนั้นด้อยลงไปอีก

 
+พริกป่น

        คือการนำพริกขี้หนูหรือพริกทางภาคอีสาน ซึ่งจะมีรสเผ็ดมาก ตากแห้ง แล้วคั่วในกระทะโดยใช้ไฟอ่อนให้หอมฉุนตักขึ้นพักไว้ให้เย็น แล้วโขลกให้ละเอียด พริกป่นเป็นเครื่องปรุงรสอีกชนิดหนึ่งที่ใช้กันมาก  เพราะคนอีสานรับประทานรสเผ็ดจัด เค็มจัด พริกป่นใช้กับอาหารทุกชนิด

 
+ผักติ้วหรือผักแต้ว

           จะมีรสเปรี้ยว รับประทานกับลาบ จิ้มน้ำพริก รับประทานกับอาหารที่มีรสเผ็ด

 
+ยอดจิก

           คล้ายใบหูกวาง รับประทานกับลาบ

 
+ผักแว่น

           ขึ้นอยู่ในน้ำ รับประทานกับลาบ ก้อย น้ำพริก

 
+ผักแขยง

           ใช้ใส่แกง ดับกลิ่นคาว แกงปลา กินกับส้มตำ

 
+ผักเม็ก

           มีรสเปรี้ยว รับประทานกับลาบ ก้อย

 
+สายบัวเล็ก

           มีสีม่วง เส้นเล็ก ใช้จิ้มน้ำพริก

 
+ผักชีน้ำ

           คล้ายใบขึ้นฉ่าย แต่ใบจะเล็กกว่า

 
+ผักแพว

           ต้นและใบมีกลิ่นหอม ใบอ่อนและกิ่งรับประทานกับลาบ ก้อย

 
+หน่อไม้รวก

           คือ หน่อไม้ที่ขึ้นตามป่าเขา นำมาเผา แล้วจึงนำไปประกอบอาหาร

 
+เห็ดป่าต่าง ๆ

           นิยมนำมาแกง หมก
 

 

                                                      

สร้างโดย: 
น.ส.ประภาภรณ์ แซ่ตั้ง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์