• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3b8db8ffd822ce84267c517be4297cc7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20111/3-1_0.jpg\" height=\"147\" width=\"558\" />\n</p>\n<p>\n<b>         <span style=\"color: #3366ff\"> กล้ามเนื้อของเรานับเป็นประดิษฐกรรมชั้นเยี่ยม ที่มีกลไกการทำงานสลับซับซ้อน นักวิทยาศาสตร์พยายามหาคำอธิบายเกี่ยวกับกลไกการทำงานของกล้ามเนื้อโดยใช้ หลักฐานที่พบจากการใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ซึ่งมีกำลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบธรรมดาถึงหนึ่งพันเท่า จากการศึกษาที่ทำโดยการยืดกล้ามเนื้อออกและตรึงกล้ามเนื้อเอาไว้ แล้วทำการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อเกิดการหดตัว นักวิทยาศาสตร์พบว่าในขณะที่กล้ามเนื้อเกิดการหดตัว ความกว้างของแถบเอไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเลย นอกจากนี้ความยาวของเส้นใยโปรตีนสายหนาและสายบางก็ยังคงเดิม ทั้งๆ ที่ความกว้างของหน่วยปฏิบัติการเพื่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ แถบไอและแถบเอ็ช มีการเปลี่ยนแปลงขนาดคือหดสั้นลง</span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20111/sarco4.gif\" border=\"0\" height=\"194\" width=\"568\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพตัดบางตามความยาวแสดงหน่วยปฏิบัติการย่อยของเส้นใยกล้ามเนื้อขณะพักงานและขณะหดตัว\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/sarco4.gif\">http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/sarco4.gif</a>\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\n<br />\n          <br />\n<span style=\"color: #3366ff\">ทุกครั้งที่เราเคลื่อนไหว สมอง ประสาท และกล้ามเนื้อ จะต้องทำงานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี สมองรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส ทำการแปลผล และตัดสินใจว่าจะตอบสนองให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวอย่างไร สัญญาณประสาทจากระบบประสาทส่วนกลาง จากเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) จะถูกส่งไปตามเส้นประสาทไขสันหลัง ไปยังปลายประสาทที่กล้ามเนื้อ สัญญาณประสาทจะกระตุ้นให้กล้ามเนื้อทำงานโดยการหดตัว<br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20111/spinalcord.gif\" border=\"0\" height=\"281\" width=\"250\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/spinalcord.gif\">http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/spinalcord.gif</a>\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\n<a href=\"/node/42819\"><img src=\"/files/u20111/Home-1.jpg\" height=\"159\" width=\"159\" /></a>                          <a href=\"/node/51514\"><img src=\"/files/u20111/Next-1.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>                        <a href=\"/node/50474\"><img src=\"/files/u20111/backtomain.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727735103, expire = 1727821503, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3b8db8ffd822ce84267c517be4297cc7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กล้ามเนื้อทำงานอย่างไร

          กล้ามเนื้อของเรานับเป็นประดิษฐกรรมชั้นเยี่ยม ที่มีกลไกการทำงานสลับซับซ้อน นักวิทยาศาสตร์พยายามหาคำอธิบายเกี่ยวกับกลไกการทำงานของกล้ามเนื้อโดยใช้ หลักฐานที่พบจากการใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ซึ่งมีกำลังขยายสูงกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบธรรมดาถึงหนึ่งพันเท่า จากการศึกษาที่ทำโดยการยืดกล้ามเนื้อออกและตรึงกล้ามเนื้อเอาไว้ แล้วทำการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อเกิดการหดตัว นักวิทยาศาสตร์พบว่าในขณะที่กล้ามเนื้อเกิดการหดตัว ความกว้างของแถบเอไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงเลย นอกจากนี้ความยาวของเส้นใยโปรตีนสายหนาและสายบางก็ยังคงเดิม ทั้งๆ ที่ความกว้างของหน่วยปฏิบัติการเพื่อการหดตัวของกล้ามเนื้อ แถบไอและแถบเอ็ช มีการเปลี่ยนแปลงขนาดคือหดสั้นลง

ภาพตัดบางตามความยาวแสดงหน่วยปฏิบัติการย่อยของเส้นใยกล้ามเนื้อขณะพักงานและขณะหดตัว

ภาพจาก http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/sarco4.gif


          
ทุกครั้งที่เราเคลื่อนไหว สมอง ประสาท และกล้ามเนื้อ จะต้องทำงานสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี สมองรับข้อมูลจากประสาทสัมผัส ทำการแปลผล และตัดสินใจว่าจะตอบสนองให้ร่างกายมีการเคลื่อนไหวอย่างไร สัญญาณประสาทจากระบบประสาทส่วนกลาง จากเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) จะถูกส่งไปตามเส้นประสาทไขสันหลัง ไปยังปลายประสาทที่กล้ามเนื้อ สัญญาณประสาทจะกระตุ้นให้กล้ามเนื้อทำงานโดยการหดตัว

ภาพจาก http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/muscle(2)/image/spinalcord.gif

                                                 

สร้างโดย: 
นางสาวอธิฐาน เที่ยงแท้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 407 คน กำลังออนไลน์