• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:94f29950c13dbc17d56bd6b7d893c661' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b>      <span style=\"color: #00ccff\">   <span style=\"color: #3366ff\"> </span></span><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">ต่อมา  ฮักเลย์  และ  แฮนสัน  ได้เสนอ<br />\nสมมติฐานการหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดจากการเลื่อนตัวของแอกทินเข้าหากันตรงกลาง  การเลื่อนของโปรตีนดังกล่าวทำให้เส้นใยกล้ามเนื้อหดตัว  การเคลื่อน<br />\nไหวในแต่ละส่วนของร่างกาย <br />\nโดยกล้ามเนื้อจะทำงานรวมกันเป็นคู่ๆในลักษณะแอนตาโกนิซึม(antagonism) <br />\nได้แก่</span></span></b></p>\n<p>1.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวงอและเหยียด<br />\n<br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><b><b>          </b> 1.1 กล้ามเนื้อเฟล้กเซอร์(flexor)  เป็นกล้ามเนื้อที่หดกตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวงอหรือพับ  ได้แก่  กล้ามเนื้อไบเซพ(bicape)<br />\n</b><b><b>          </b><br />\n1.2 กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์(extenser)  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้<br />\nเกิดการเคลื่อนไหวเหยียดตรง  ได้แก่  กล้ามเนื้อไตรเซพ(tricepe)</b></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20111/bicep.jpg\" height=\"241\" width=\"433\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nภาพจาก <a href=\"http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/bicep.JPG\" title=\"http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movement/bicep.JPG\">http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movemen...</a>\n</p>\n<p>\n<b>          <span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\">2.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหน้าและข้างหลัง<br />\n</span></span><br />\n</b><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><b><b>                    </b> 2.1 กล้ามเนื้อ  protracter  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า<br />\n</b><b><b>                    </b> 2.2 กล้ามเนื้อ  retracter  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหลัง</b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"color: #3366ff\"><b><b>          </b>3.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปด้านข้างและแนบลง<br />\n</b><b><b>          </b></b><b><b>          </b>3.1 กล้ามเนื้อ  abductor  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวออกจากข้างลำตัว<br />\n</b><b><b>         </b></b><b><b>           </b>3.2 กล้ามเนื้อ  adductor  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวแนบลำตัว</b></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><a href=\"/node/42819\"></a></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/42819\"><img src=\"/files/u20111/Home-1_0.jpg\" align=\"left\" height=\"154\" width=\"154\" /><span><span style=\"color: #999999\"></span></span></a>                                                                        <br />\n<a href=\"/node/50474\"><img src=\"/files/u20111/backtomain.jpg\" height=\"196\" width=\"138\" /></a>\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1727742080, expire = 1727828480, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:94f29950c13dbc17d56bd6b7d893c661' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต่อจากกล้ามเนื้อทำงานอย่างไร

          ต่อมา  ฮักเลย์  และ  แฮนสัน  ได้เสนอ
สมมติฐานการหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดจากการเลื่อนตัวของแอกทินเข้าหากันตรงกลาง  การเลื่อนของโปรตีนดังกล่าวทำให้เส้นใยกล้ามเนื้อหดตัว  การเคลื่อน
ไหวในแต่ละส่วนของร่างกาย 
โดยกล้ามเนื้อจะทำงานรวมกันเป็นคู่ๆในลักษณะแอนตาโกนิซึม(antagonism) 
ได้แก่

1.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวงอและเหยียด

          1.1 กล้ามเนื้อเฟล้กเซอร์(flexor)  เป็นกล้ามเนื้อที่หดกตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวงอหรือพับ  ได้แก่  กล้ามเนื้อไบเซพ(bicape)
         
1.2 กล้ามเนื้อเอ็กเทนเซอร์(extenser)  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้
เกิดการเคลื่อนไหวเหยียดตรง  ได้แก่  กล้ามเนื้อไตรเซพ(tricepe)

ภาพจาก http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Movement/pic-movemen...

          2.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหน้าและข้างหลัง

                    2.1 กล้ามเนื้อ  protracter  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า
                    2.2 กล้ามเนื้อ  retracter  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปข้างหลัง

          3.กล้ามเนื้อที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวไปด้านข้างและแนบลง
                    3.1 กล้ามเนื้อ  abductor  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวออกจากข้างลำตัว
                    3.2 กล้ามเนื้อ  adductor  เป็นกล้ามเนื้อที่หดตัวแล้วทำให้เกิดการเคลื่อนไหวแนบลำตัว

                                                                        

สร้างโดย: 
นางสาวอธิฐาน เที่ยงแท้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 398 คน กำลังออนไลน์