• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:25707c1b6a48b9c87f8c112039572b53' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #343897\"><strong>ยุคที่ 2</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #343897\"><img border=\"0\" width=\"223\" src=\"/files/u20432/Untitled8.jpg\" height=\"246\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา :</span> <a href=\"http://www.phusarng.net/AWCAI/Untitled8.jpg\">http://www.phusarng.net/AWCAI/Untitled8.jpg</a></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #e93499\">ยุคของคอมพิวเตอร์</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #8417f1\">ยุคที่ 2 (1959-1964)</span> </span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #000000\">การพัฒนาที่สำคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจำพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองที่มีความเร็วสูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้างโปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #000000\">ภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสำหรับยุคนี้ โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทำให้ต้องใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #000000\">ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทำงานได้ช้ามาก ทำให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทำการพัฒนาเพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการจัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลอีกต่อไป</span></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญคือเครื่อง</span> <span style=\"background-color: #c1f7a0\">IBM 704, 709 และ 7094</span></span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #343897\"><span style=\"color: #cc99ff\">........................................</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #808000\">หัวข้อที่เกี่ยวข้อง</span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #343897\"></span></p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/43266\"><span style=\"color: #993366\">วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/49218\"><span style=\"color: #800000\">จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"/node/49227\"><span style=\"color: #ff00ff\">เครื่องคิดเลข เนเปียร์ส โบนส์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/49241\"><span style=\"color: #99cc00\">ไม้บรรทัดคำนวณ</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><a href=\"/node/49253\"><span style=\"color: #3366ff\">เครื่องบวกเลข</span></a></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008080\"><a href=\"/node/49261\"><span style=\"color: #33cccc\">เครื่องคิดเลขแบบใช้เฟือง</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/49272\"><span style=\"color: #993300\">เครื่องทอผ้า</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"/node/49279\"><span style=\"color: #808000\">เครื่องหาผลต่าง</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49283\"><span style=\"color: #bd4ce5\">บิดาแห่งคอมพิวเตอร์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #333399\"><a href=\"/node/49293\"><span style=\"color: #cc25cf\">นักโปรแกรมคนแรกของโลก</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\"><a href=\"/node/49298\"><span style=\"color: #4242e5\">แนวคิดเกี่ยวกับระบบพีชคณิตแบบใหม่</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"/node/49303\"><span style=\"color: #f44852\">บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/49312\"><span style=\"color: #21e729\">เครื่องทำตารางข้อมูล และหีบเรียงบัตร</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/49325\"><span style=\"color: #ba79e1\">บริษัทไอบีเอ็ม</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/49338\"><span style=\"color: #f5745b\">MARK I Computer</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49345\"><span style=\"color: #914f44\">เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50273\"><span style=\"color: #95d91b\"><strong><span style=\"color: #27e172\">EDVAC</span></strong> </span></a> \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #3cc4d7\"><a href=\"/node/50294\"><span style=\"color: #f45a33\">UNIVAC I</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #df33b9\"><a href=\"/node/50306\"><span style=\"color: #42a883\">ยุคของคอมพิวเตอร์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #e66241\"><a href=\"/node/50311\"><span style=\"color: #fb3822\">ยุคที่ 1</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/50325\"><span style=\"color: #219683\">ยุคที่ 3</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #f961f9\"><a href=\"/node/50349\"><span style=\"color: #dc1882\">ยุคที่ 4</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51597\"><span style=\"color: #ca3e8a\"><strong>ผู้จัดทำ</strong></span></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715625919, expire = 1715712319, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:25707c1b6a48b9c87f8c112039572b53' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ยุคที่ 2

ยุคที่ 2

ที่มา : http://www.phusarng.net/AWCAI/Untitled8.jpg

ยุคของคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 2 (1959-1964)

การพัฒนาที่สำคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจำพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk ซึ่งเป็นหน่วยบันทึกข้อมูลสำรองที่มีความเร็วสูงขึ้น นอกจากนี้ ส่วนประกอบที่คอมพิวเตอร์ได้ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซึ่งง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้างโปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อย่างรวดเร็ว

ภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสำหรับยุคนี้ โปรแกรมเมอร์สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เนื่องจากคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้แต่เฉพาะกับภาษาเครื่อง ทำให้ต้องใช้โปรแกรมตัวอื่น คือ compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทำงานได้ช้ามาก ทำให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทำการพัฒนาเพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒนาระบบ มัลติโปรแกรมมิ่ง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการจัดสรรให้คอมพิวเตอร์ทำงานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทำให้ไม่ต้องเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผลอีกต่อไป

เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สำคัญคือเครื่อง IBM 704, 709 และ 7094

........................................

หัวข้อที่เกี่ยวข้อง

วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์

จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์

เครื่องคิดเลข เนเปียร์ส โบนส์

ไม้บรรทัดคำนวณ

เครื่องบวกเลข

เครื่องคิดเลขแบบใช้เฟือง

เครื่องทอผ้า

เครื่องหาผลต่าง

บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

นักโปรแกรมคนแรกของโลก

แนวคิดเกี่ยวกับระบบพีชคณิตแบบใหม่

บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล

เครื่องทำตารางข้อมูล และหีบเรียงบัตร

บริษัทไอบีเอ็ม

MARK I Computer

เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก

EDVAC  

UNIVAC I

ยุคของคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 1

ยุคที่ 3

ยุคที่ 4

ผู้จัดทำ

สร้างโดย: 
น.ส.อัจจิมา เจริญสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 480 คน กำลังออนไลน์