• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5c515a6510547c670781e5712fcf4fff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #27e172\"><strong>EDVAC</strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #27e172\"><img border=\"0\" width=\"472\" src=\"/files/u20432/edvac.jpg\" height=\"374\" style=\"width: 344px; height: 222px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #27e172\"><strong><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มา : </span></strong><a href=\"http://www.cs.helsinki.fi/u/kerola/tkhist/k2000/alustukset/eniacedvac/edvac.jpg\"><strong>http://www.cs.helsinki.fi/u/kerola/tkhist/k2000/alustukset/eniacedvac/edvac.jpg</strong></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27e172\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff6600\">ค.ศ. 1945</span> : ระหว่างเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางการทหารสหรัฐอเมริกา ทำการวิจัยเกี่ยวกับโครงการสร้างลูกระเบิดปรมาณู ได้นำเอาเครื่อง MARK I และ ENIAC มาใช้ในโครงการนี้ด้วย แต่ต้องการเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า           </span></strong></span><span style=\"color: #27e172\"><strong><span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #c9fea4\">ดร.จอห์น ฟอน นอยมานน์</span> (Dr.John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์ นักตรรกวิทยา และนักฟิสิกส์ แห่งมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน พร้อม <span style=\"background-color: #e4b5f7\">ร.ท.เฮอร์มาน โกลด์สไตน์</span> (Herman Goldstein) เจ้าหน้าที่สื่อสารกองทัพบกและอดีตศาสตราจารย์คณิตศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยมิชิแกน และ <span style=\"background-color: #fc91a2\">ดร.อาเธอร์ เบิร์คส</span> สมาชิกแผนกปรัชญาของมิชิแกน ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่องได้ เปลี่ยนแปลงข้อมูลและเปรียบเทียบได้ และใช้ระบบตัวเลขฐานสองภายในเครื่อง ชื่อว่า <span style=\"background-color: #f4fb88\">EDVAC </span>(Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1952</span></strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #27e172\"><strong><span style=\"color: #800080\">แนวความคิดในการสร้างเครื่อง EDVAC ของนอยมานน์  มี 2 ประการ คือ<br />\n</span><span style=\"color: #000000\">          1. ใช้ระบบเลขฐาน 2 ประกอบด้วยตัวเลข 0 และ 1 เรียกว่า บิท (bit = binary digit) ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของกระแสไฟฟ้า 2 ลักษณะ คือ ไฟฟ้าเปิดและไฟฟ้าปิด<br />\n          2. คำสั่งและข้อมูลที่จะประมวลผล ควรเก็บไว้ในเครื่อง<br />\n            จากแนวความคิดเดียวกันนี้ <span style=\"background-color: #aea5fc\">เอ็ม. วี. วิลคส์</span> (M.V. wilkes) นักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ได้สร้างเครื่อง EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Computer) สำเร็จในปี ค.ศ. 1949 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ภายในเครื่องได้ ของอังกฤษ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับ EDVAC แต่ใช้เทปแม่เหล็กสำหรับบันทึกข้อมูล ซึ่งเป็นวิธีการที่เร็วกว่าการใช้บัตรเจาะรู และเป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้ในอังกฤษ<br />\n           ดังนั้น EDVAC ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ต้นแบบของการสร้างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด และอาจถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก (ในประเทศอังกฤษถือว่า EDSAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก เนื่องจากว่า EDSAC สร้างเสร็จก่อน แม้ว่าจะสร้างทีหลังก็ตาม)</span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #cc99ff\">........................................................</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #3cc4d7\"><strong><span style=\"color: #000000\"></span></strong></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #343897\"><strong><span style=\"color: #808000\">หัวข้อที่เกี่ยวข้อง</span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #343897\"></span><span style=\"color: #343897\"></span><span style=\"color: #343897\"></span><span style=\"color: #343897\"></span><span style=\"color: #343897\"></span></p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/43266\"><span style=\"color: #993366\">วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/49218\"><span style=\"color: #800000\">จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"/node/49227\"><span style=\"color: #ff00ff\">เครื่องคิดเลข เนเปียร์ส โบนส์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #99cc00\"><a href=\"/node/49241\"><span style=\"color: #99cc00\">ไม้บรรทัดคำนวณ</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><a href=\"/node/49253\"><span style=\"color: #3366ff\">เครื่องบวกเลข</span></a></span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #008080\"><a href=\"/node/49261\"><span style=\"color: #33cccc\">เครื่องคิดเลขแบบใช้เฟือง</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/49272\"><span style=\"color: #993300\">เครื่องทอผ้า</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"/node/49279\"><span style=\"color: #808000\">เครื่องหาผลต่าง</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49283\"><span style=\"color: #bd4ce5\">บิดาแห่งคอมพิวเตอร์</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #333399\"><a href=\"/node/49293\"><span style=\"color: #cc25cf\">นักโปรแกรมคนแรกของโลก</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff6600\"><a href=\"/node/49298\"><span style=\"color: #4242e5\">แนวคิดเกี่ยวกับระบบพีชคณิตแบบใหม่</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #33cccc\"><a href=\"/node/49303\"><span style=\"color: #f44852\">บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/49312\"><span style=\"color: #21e729\">เครื่องทำตารางข้อมูล และหีบเรียงบัตร</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #cc99ff\"><a href=\"/node/49325\"><span style=\"color: #ba79e1\">บริษัทไอบีเอ็ม</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #00ccff\"><a href=\"/node/49338\"><span style=\"color: #f5745b\">MARK I Computer</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993366\"><a href=\"/node/49345\"><span style=\"color: #914f44\">เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50294\"><span style=\"color: #0fdb40\">UNIVAC I</span></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/50306\"><span style=\"color: #743780\">ยุคของคอมพิวเตอร์</span></a>\n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/50311\"><span style=\"color: #0000ff\">ยุคที่ 1</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/50318\">ยุคที่ 2</a></strong>  \n</p>\n<p>\n<strong><a href=\"/node/50325\"><span style=\"color: #219683\">ยุคที่ 3</span></a></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #f961f9\"><a href=\"/node/50349\"><span style=\"color: #dc1882\">ยุคที่ 4</span></a></span></strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/51597\"><span style=\"color: #ca3e8a\">ผู้จัดทำ</span></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715585035, expire = 1715671435, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5c515a6510547c670781e5712fcf4fff' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

EDVAC

EDVAC

ที่มา : http://www.cs.helsinki.fi/u/kerola/tkhist/k2000/alustukset/eniacedvac/edvac.jpg

ค.ศ. 1945 : ระหว่างเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ทางการทหารสหรัฐอเมริกา ทำการวิจัยเกี่ยวกับโครงการสร้างลูกระเบิดปรมาณู ได้นำเอาเครื่อง MARK I และ ENIAC มาใช้ในโครงการนี้ด้วย แต่ต้องการเครื่องที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า           ดร.จอห์น ฟอน นอยมานน์ (Dr.John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์ นักตรรกวิทยา และนักฟิสิกส์ แห่งมหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน พร้อม ร.ท.เฮอร์มาน โกลด์สไตน์ (Herman Goldstein) เจ้าหน้าที่สื่อสารกองทัพบกและอดีตศาสตราจารย์คณิตศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยมิชิแกน และ ดร.อาเธอร์ เบิร์คส สมาชิกแผนกปรัชญาของมิชิแกน ได้ร่วมมือกันสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บคำสั่งการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ภายในเครื่องได้ เปลี่ยนแปลงข้อมูลและเปรียบเทียบได้ และใช้ระบบตัวเลขฐานสองภายในเครื่อง ชื่อว่า EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และสร้างเสร็จในปี ค.ศ. 1952

แนวความคิดในการสร้างเครื่อง EDVAC ของนอยมานน์  มี 2 ประการ คือ
          1. ใช้ระบบเลขฐาน 2 ประกอบด้วยตัวเลข 0 และ 1 เรียกว่า บิท (bit = binary digit) ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของกระแสไฟฟ้า 2 ลักษณะ คือ ไฟฟ้าเปิดและไฟฟ้าปิด
          2. คำสั่งและข้อมูลที่จะประมวลผล ควรเก็บไว้ในเครื่อง
            จากแนวความคิดเดียวกันนี้ เอ็ม. วี. วิลคส์ (M.V. wilkes) นักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ ได้สร้างเครื่อง EDSAC (Electronic Delay Storage Automatic Computer) สำเร็จในปี ค.ศ. 1949 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ภายในเครื่องได้ ของอังกฤษ มีลักษณะการทำงานเหมือนกับ EDVAC แต่ใช้เทปแม่เหล็กสำหรับบันทึกข้อมูล ซึ่งเป็นวิธีการที่เร็วกว่าการใช้บัตรเจาะรู และเป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้ในอังกฤษ
           ดังนั้น EDVAC ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ต้นแบบของการสร้างคอมพิวเตอร์ทั้งหมด และอาจถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก (ในประเทศอังกฤษถือว่า EDSAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก เนื่องจากว่า EDSAC สร้างเสร็จก่อน แม้ว่าจะสร้างทีหลังก็ตาม)

........................................................

หัวข้อที่เกี่ยวข้อง

วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์

จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์

เครื่องคิดเลข เนเปียร์ส โบนส์

ไม้บรรทัดคำนวณ

เครื่องบวกเลข

เครื่องคิดเลขแบบใช้เฟือง

เครื่องทอผ้า

เครื่องหาผลต่าง

บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

นักโปรแกรมคนแรกของโลก

แนวคิดเกี่ยวกับระบบพีชคณิตแบบใหม่

บัตรเจาะรูสำหรับเก็บข้อมูล

เครื่องทำตารางข้อมูล และหีบเรียงบัตร

บริษัทไอบีเอ็ม

MARK I Computer

เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก

UNIVAC I

ยุคของคอมพิวเตอร์

ยุคที่ 1

ยุคที่ 2  

ยุคที่ 3

ยุคที่ 4

ผู้จัดทำ

สร้างโดย: 
น.ส.อัจจิมา เจริญสุข

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 249 คน กำลังออนไลน์