• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b8bef550e53a1bc8f4171c006f7cb0d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366\">ประวัติของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"525\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/425/9425/images/dom1.jpg\" height=\"700\" style=\"width: 357px; height: 330px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>  <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/425/9425/images/dom1.jpg\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/425/9425/images/dom1.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">อักษรย่อ   :</span></strong>   <span style=\"color: #ff6600\"> มธ. (TU) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ชื่อภาษาอังกฤษ  :</span></strong>     <span style=\"color: #ff6600\">Thammasat University</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>วันสถาปนา   :</strong></span>    <span style=\"color: #ff6600\">27 มิถุนายน พ.ศ. 2477</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ประเภท    :</strong></span>   <span style=\"color: #ff6600\">รัฐ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>นายกสภาฯ    :</strong></span>    <span style=\"color: #ff6600\">ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>อธิการบดี    :  </strong></span>  <span style=\"color: #ff6600\">ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>เพลงสถาบัน    :</strong></span>    <span style=\"color: #ff6600\">เพลงประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์   ทำนองมอญดูดาว</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>เพลงพระราชนิพนธ์   :</strong></span>    <span style=\"color: #ff6600\">ยูงทอง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>สีประจำสถาบัน   :</strong></span>      <span style=\"color: #ff6600\">เหลือง-แดง</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ต้นไม้    :</strong></span>    <span style=\"color: #ff6600\">ต้นหางนกยูงฝรั่ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>เว็บไซต์    :</strong></span>   <a href=\"http://www.tu.ac/\">www.tu.ac</a>.\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\"> มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2477 โดยมีชื่อเมื่อเริ่มก่อตั้งว่า &quot;มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง&quot; (มธก.) มหาวิทยาลัยนี้ถือกำเนิดมาจาก ความคิดริเริ่มของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ (รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย ในขณะนั้น) โดยเล็งเห็นว่า การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขณะนั้นมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ.2475 ประเทศชาติ มีความจำเป็นต้องมีบุคคลที่มีความรู้ ทางกฎหมาย การปกครอง และสังคม มารับใช้ประเทศชาติโดยด่วน จึงได้เสนอร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย วิชา ธรรมศาสตร์ และการเมือง พ.ศ.2476 เพื่อเปิดสอนในวิชาแขนงดังกล่าว เมื่อพระราชบัญญัติผ่านสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ได้มีพิธี เปิดมหาวิทยาลัยขึ้น เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2477 โดยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้กระทำพิธีเปิด และ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา พนมยงค์ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประศาสน์การคนแรกของมหาวิทยาลัย (และเป็นผู้ประศาสน์การ คนเดียว เพราะต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ ตำแหน่งเป็นอธิการบดี) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ปรัชญาของการตั้งมหาวิทยาลัย ปรากฏตามสุนทรพจน์ ของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รายงานต่อผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ มีดังนี้ &quot;...มหาวิทยาลัยย่อมอุปมา ประดุจบ่อน้ำ บำบัดความกระหายของราษฎร ผู้สมัครแสวงหาความรู้ อันเป็นสิทธิและโอกาส ที่เขาควรมีควรได้ ตามหลักเสรีภาพของการศึกษา...&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง จึงเป็นตลาดวิชา และเป็น มหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกของประเทศไทย โดยให้สิทธิแก่ผู้ที่เคยศึกษาในโรงเรียนกฎหมายผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษา และเปิดกว้างให้ถึงผู้ที่เป็น ข้าราชการ สมาชิกสภาผู้แทน ฯ ผู้แทนตำบล ครู ทนายความ เข้าเรียน ได้ด้วย ปรากฏว่าในปีแรกมีผู้สมัครเข้าศึกษาถึง 7,094 คน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต ซึ่งสอนวิชากฎหมายเป็นหลัก แต่ได้สอนวิชา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการฑูตด้วย เมื่อจบปริญญาตรีธรรมศาสตรบัณฑิตก็อาจศึกษาต่อปริญญาโท แยกเป็นแขนงนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการฑูตต่อไป วิชาอีกแขนงหนึ่งคือ วิชาการบัญชี โดยมีหลักสูตร 3 ปี สำหรับประกาศนียบัตร ทางการบัญชี (เทียบเท่าปริญญาตรี) และ 5 ปี สำหรับประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการบัญชี (เทียบเท่าปริญญาโท) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">จากวิสัยทัศน์ของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ผู้ไม่มีโอกาสได้ศึกษาถึงขั้นมหาวิทยาลัยได้จบปริญญา และประกาศนียบัตรไปรับใช้ประเทศชาติในทางการเมือง กระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ วงการธุรกิจ และอาชีพอิสระเป็นอันมาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ในปี พ.ศ.2481 มหาวิทยาลัยตั้งโรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตร 2 ปี เพื่อรับผู้ประสงค์จะเข้าเรียนต่อ ที่มหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมืองโดยตรง โรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตรการสอนหนัก ไปทางด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และวิชาด้านสังคม เช่น ปรัชญา วิชาเทคโนโลยี ดนตรี พิมพ์ดีด และชวเลข เป็นต้น โรงเรียนเตรียม ปริญญามีทั้งหมดรวม 8 รุ่น จนถึงปี พ.ศ.2490 จึงถูกยกเลิกไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 คณะรัฐประหาร ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ ด้วยเหตุผลทางการเมือง และการ ปกครองของคณะรัฐประหาร ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบ และถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผู้ประศาสน์การ ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า &quot;การเมือง&quot; ออก เปลี่ยนเป็น &quot;มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์&quot; ตำแหน่งผู้ประศาสน์การถูกยกเลิก เปลี่ยนเป็นอธิการบดี หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต ถูกเปลี่ยนแปลงเป็น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี ความเป็นตลาดวิชาหมดไป ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พ.ศ.2495 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ในปี พ.ศ.2518 ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เป็นอธิการบดี ท่านเห็นว่า ควรที่ จะขยายการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ในชั้นปริญญาตรีเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมีส่วนสำคัญ ในการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาสังคม เช่นเดียวกับ หลักสูตรทาง สังคมศาสตร์ที่มีอยู่เดิม พื้นที่ธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร่ ไม่เพียงพอ ต่อการขยายตัว ทางวิชาการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยจึงเจรจาขอใช้ที่ดินนิคมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เนื้อที่ประมาณ 2,400 ไร่ ที่รังสิต เพื่อสนองรับการขยายตัว ของ มหาวิทยาลัยต่อไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงขยายออกไปที่รังสิต เรียกว่า มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งเจริญก้าวหน้า และพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังขยายไปที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยาด้วย โดยอยู่บน พื้นฐานการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นธรรมศาสตร์ ดั่งเช่น จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> </span><span style=\"color: #003366\"><strong><u>สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366\"></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"142\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e3/TU_Seal.png\" height=\"142\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #008000\">ภาพจาก : </span> <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e3/TU_Seal.png\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e3/TU_Seal.png</a></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีตราธรรมจักรที่มีพานรัฐธรรมนูญอยู่ตรงกลางเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">สัญลักษณ์สำคัญอีกอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</span>  </strong></span><span style=\"color: #ff6600\">ก็คือ ตึกโดม ซึ่งเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัย โดยคำว่า</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>“ลูกแม่โดม”</strong> หมายถึงนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><img border=\"0\" width=\"230\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/9c/Yoongthong.jpg\" height=\"260\" style=\"width: 168px; height: 235px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>  <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/9c/Yoongthong.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/9c/Yoongthong.jpg</a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff0000\"> * ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย *</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">คือหางนกยูงหรือ &quot;ยูงทอง&quot;   </span><span style=\"color: #ff6600\">ซึ่งสีของดอกยูงทองนี้มีสีเหลือง-แดง สัมพันธ์กับสีประจำมหาวิทยาลัย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ต้นยูงทองนี้ถูกนำไปใช้แต่งเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันด้วย คือเพลงยูงทอง</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"232\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/b/b1/Yellowred.gif\" height=\"285\" style=\"width: 140px; height: 235px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\">ภาพจาก :</span>  <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/b/b1/Yellowred.gif\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/b/b1/Yellowred.gif</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>  </strong>* สีประจำมหาวิทยาลัย *</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">สีเหลือง-แดง ดังปรากฏในเนื้อเพลง <strong>“เพลงประจำมหาวิทยาลัย”</strong> (มอญดูดาว) ที่ว่า <strong>“เหลืองของเราคือธรรมประจำจิต แดงของเราคือโลหิตอุทิศให้”</strong> ซึ่งนับเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ปีแรกของการก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2477 หมายถึง ความสำนึกในความเป็นธรรมและความเสียสละเพื่อสังคม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #003366\">เพลงประจำของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  พระราชนิพนธ์ยูงทอง   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  ขวัญโดม   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> -  โดมในดวงใจ   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  ธรรมศาสตร์รักกัน   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"> -  ธรรมศาสตร์เกรียงไกร   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  โดมร่มใจ   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  รำวงร่มยูงทอง   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  สีเหลืองแดง   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  โดมรอเธอ   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  อาลัยโดม   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  จำจากโดม   </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">-  ลาแล้วโดม <br />\n</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff6600\"><br />\n <br />\n  <br />\n</span><span style=\"color: #ff6600\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #009f4f\"></span><br />\n \n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\">\nกลับไปยัง --&gt; <a href=\"/node/48314\">ประวัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715377364, expire = 1715463764, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b8bef550e53a1bc8f4171c006f7cb0d0' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

รูปภาพของ NERIYA

ประวัติของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 

ภาพจาก :  http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/425/9425/images/dom1.jpg

 

 

อักษรย่อ   :    มธ. (TU)

ชื่อภาษาอังกฤษ  :     Thammasat University

วันสถาปนา   :    27 มิถุนายน พ.ศ. 2477

ประเภท    :   รัฐ

นายกสภาฯ    :    ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

อธิการบดี    :    ศาสตราจารย์ ดร.สุรพล นิติไกรพจน์

เพลงสถาบัน    :    เพลงประจำมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์   ทำนองมอญดูดาว

เพลงพระราชนิพนธ์   :    ยูงทอง

สีประจำสถาบัน   :      เหลือง-แดง

ต้นไม้    :    ต้นหางนกยูงฝรั่ง

เว็บไซต์    :   www.tu.ac.

 


 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2477 โดยมีชื่อเมื่อเริ่มก่อตั้งว่า "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ และการเมือง" (มธก.) มหาวิทยาลัยนี้ถือกำเนิดมาจาก ความคิดริเริ่มของ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ (รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย ในขณะนั้น) โดยเล็งเห็นว่า การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขณะนั้นมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียว เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็นระบอบประชาธิปไตยใน พ.ศ.2475 ประเทศชาติ มีความจำเป็นต้องมีบุคคลที่มีความรู้ ทางกฎหมาย การปกครอง และสังคม มารับใช้ประเทศชาติโดยด่วน จึงได้เสนอร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย วิชา ธรรมศาสตร์ และการเมือง พ.ศ.2476 เพื่อเปิดสอนในวิชาแขนงดังกล่าว เมื่อพระราชบัญญัติผ่านสภาผู้แทนราษฎรแล้ว ได้มีพิธี เปิดมหาวิทยาลัยขึ้น เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2477 โดยผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้กระทำพิธีเปิด และ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา พนมยงค์ ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ประศาสน์การคนแรกของมหาวิทยาลัย (และเป็นผู้ประศาสน์การ คนเดียว เพราะต่อมาได้เปลี่ยนชื่อ ตำแหน่งเป็นอธิการบดี)

ปรัชญาของการตั้งมหาวิทยาลัย ปรากฏตามสุนทรพจน์ ของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รายงานต่อผู้สำเร็จราชการ แทนพระองค์ มีดังนี้ "...มหาวิทยาลัยย่อมอุปมา ประดุจบ่อน้ำ บำบัดความกระหายของราษฎร ผู้สมัครแสวงหาความรู้ อันเป็นสิทธิและโอกาส ที่เขาควรมีควรได้ ตามหลักเสรีภาพของการศึกษา..."

ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง จึงเป็นตลาดวิชา และเป็น มหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกของประเทศไทย โดยให้สิทธิแก่ผู้ที่เคยศึกษาในโรงเรียนกฎหมายผู้สำเร็จประโยคมัธยมศึกษา และเปิดกว้างให้ถึงผู้ที่เป็น ข้าราชการ สมาชิกสภาผู้แทน ฯ ผู้แทนตำบล ครู ทนายความ เข้าเรียน ได้ด้วย ปรากฏว่าในปีแรกมีผู้สมัครเข้าศึกษาถึง 7,094 คน

วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต ซึ่งสอนวิชากฎหมายเป็นหลัก แต่ได้สอนวิชา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการฑูตด้วย เมื่อจบปริญญาตรีธรรมศาสตรบัณฑิตก็อาจศึกษาต่อปริญญาโท แยกเป็นแขนงนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการฑูตต่อไป วิชาอีกแขนงหนึ่งคือ วิชาการบัญชี โดยมีหลักสูตร 3 ปี สำหรับประกาศนียบัตร ทางการบัญชี (เทียบเท่าปริญญาตรี) และ 5 ปี สำหรับประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการบัญชี (เทียบเท่าปริญญาโท)

จากวิสัยทัศน์ของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ผู้ไม่มีโอกาสได้ศึกษาถึงขั้นมหาวิทยาลัยได้จบปริญญา และประกาศนียบัตรไปรับใช้ประเทศชาติในทางการเมือง กระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ วงการธุรกิจ และอาชีพอิสระเป็นอันมาก

ในปี พ.ศ.2481 มหาวิทยาลัยตั้งโรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตร 2 ปี เพื่อรับผู้ประสงค์จะเข้าเรียนต่อ ที่มหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมืองโดยตรง โรงเรียนเตรียมปริญญามีหลักสูตรการสอนหนัก ไปทางด้านภาษา ทั้งภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และวิชาด้านสังคม เช่น ปรัชญา วิชาเทคโนโลยี ดนตรี พิมพ์ดีด และชวเลข เป็นต้น โรงเรียนเตรียม ปริญญามีทั้งหมดรวม 8 รุ่น จนถึงปี พ.ศ.2490 จึงถูกยกเลิกไป

 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 คณะรัฐประหาร ได้ยึดอำนาจการปกครองประเทศ ด้วยเหตุผลทางการเมือง และการ ปกครองของคณะรัฐประหาร ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบ และถูกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ผู้ประศาสน์การ ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า "การเมือง" ออก เปลี่ยนเป็น "มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์" ตำแหน่งผู้ประศาสน์การถูกยกเลิก เปลี่ยนเป็นอธิการบดี หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต ถูกเปลี่ยนแปลงเป็น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี ความเป็นตลาดวิชาหมดไป ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พ.ศ.2495

ในปี พ.ศ.2518 ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เป็นอธิการบดี ท่านเห็นว่า ควรที่ จะขยายการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ ในชั้นปริญญาตรีเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมีส่วนสำคัญ ในการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาสังคม เช่นเดียวกับ หลักสูตรทาง สังคมศาสตร์ที่มีอยู่เดิม พื้นที่ธรรมศาสตร์ท่าพระจันทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 50 ไร่ ไม่เพียงพอ ต่อการขยายตัว ทางวิชาการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยจึงเจรจาขอใช้ที่ดินนิคมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เนื้อที่ประมาณ 2,400 ไร่ ที่รังสิต เพื่อสนองรับการขยายตัว ของ มหาวิทยาลัยต่อไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จึงขยายออกไปที่รังสิต เรียกว่า มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ซึ่งเจริญก้าวหน้า และพัฒนามาจนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังขยายไปที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์พัทยาด้วย โดยอยู่บน พื้นฐานการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นธรรมศาสตร์ ดั่งเช่น จิตวิญญาณธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์. 

 สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาพจาก :  http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/e/e3/TU_Seal.png

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีตราธรรมจักรที่มีพานรัฐธรรมนูญอยู่ตรงกลางเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย

 

สัญลักษณ์สำคัญอีกอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  ก็คือ ตึกโดม ซึ่งเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัย โดยคำว่า

“ลูกแม่โดม” หมายถึงนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 

ภาพจาก :  http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/9/9c/Yoongthong.jpg 

 * ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย *

คือหางนกยูงหรือ "ยูงทอง"   ซึ่งสีของดอกยูงทองนี้มีสีเหลือง-แดง สัมพันธ์กับสีประจำมหาวิทยาลัย

ต้นยูงทองนี้ถูกนำไปใช้แต่งเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันด้วย คือเพลงยูงทอง

ภาพจาก :  http://upload.wikimedia.org/wikipedia/th/b/b1/Yellowred.gif

 

  * สีประจำมหาวิทยาลัย *

สีเหลือง-แดง ดังปรากฏในเนื้อเพลง “เพลงประจำมหาวิทยาลัย” (มอญดูดาว) ที่ว่า “เหลืองของเราคือธรรมประจำจิต แดงของเราคือโลหิตอุทิศให้” ซึ่งนับเป็นเพลงประจำมหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ปีแรกของการก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2477 หมายถึง ความสำนึกในความเป็นธรรมและความเสียสละเพื่อสังคม

เพลงประจำของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-  พระราชนิพนธ์ยูงทอง   

-  ขวัญโดม   

 -  โดมในดวงใจ  

-  ธรรมศาสตร์รักกัน   

 -  ธรรมศาสตร์เกรียงไกร   

-  โดมร่มใจ   

-  รำวงร่มยูงทอง   

-  สีเหลืองแดง   

-  โดมรอเธอ   

-  อาลัยโดม  

-  จำจากโดม   

-  ลาแล้วโดม


 
 


 

กลับไปยัง --> ประวัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ

 

 

สร้างโดย: 
คุณครู รุจี อภัยพลชาญ และ น.ส.เณริญา ยวดขุนทด ม.6/5 เลขที่ 28

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 267 คน กำลังออนไลน์