• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:335681ec3fe3117da9193557ed3d090a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"background-color: #dcdcdc\"><span style=\"background-color: #99ccff\"><span style=\"background-color: #bdbdbd\"></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small; background-color: #ffcc99\"><strong><u><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u20258/banner1.gif\" height=\"225\" /></span></u></strong></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small; background-color: #ffcc99\"><strong><u></u></strong></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small; background-color: #ffcc99\"><strong><u>นายกรัฐมนตรีคนที่ 7</u></strong></span></span></span></span></span></span></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><strong><u><br />\n</u></strong></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong><u>นายปรีดี พนมยงค์<br />\n</u></strong></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong><u>(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) </u></strong></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong><u></u></strong></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"background-color: #ffcc99\"></span></span></span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif, CordiaUPC\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: x-large\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"400\" src=\"http://www.chaloke.com/spaw/images/090511_12.jpg\" height=\"546\" style=\"width: 206px; height: 300px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ภาพจาก : <a href=\"http://www.chaloke.com/spaw/images/090511_12.jpg\">http://www.chaloke.com/spaw/images/090511_12.jpg</a> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong>ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง</strong><br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 15 : 24 มีนาคม 2489 - 11 มิถุนายน 2489 <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 16 : 11 มิถุนายน 2489 - 21 สิงหาคม 2489 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"><strong>ประวัติ </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2443 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ที่ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เป็นบุตรของนายเสียง กับ นางลูกจันทร์ พนมยงค์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">สมรสกับท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> เริ่มการศึกษาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">สอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตสยาม เมื่ออายุเพียง 19 ปี<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ในปี พ.ศ. 2463 ได้รับทุนไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่ประเทศฝรั่งเศส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">โดยศึกษาภาษาฝรั่งเศสและความรู้ทั่วไปที่ วิทยาลัยกอง (Lycee Caen) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> และศึกษากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Caen) <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้รับปริญญาทางกฎหมายและได้ &quot;ลิซองซิเอ ทางกฎหมาย&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">จากนั้นศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยปารีส <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้ดุษฎีบัณฑิตทางกฎหมาย (Docteur en Droit) ฝ่ายเนติศาสตร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และประกาศนียบัตรชั้นสูงทางเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยปารีส <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ได้รับเลือกเป็นสภานายกแห่งสมาคมนักเรียนไทยในประเทศฝรั่งเศส<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย นายปรีดี พนมยงค์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้เข้ารับราชการเป็นผู้พิพากษาในกระทรวงยุติธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2469 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">แล้วย้ายไปเป็นเลขานุการกรมร่างกฎหมายและเป็นอาจารย์สอนกฎหมายปกครองในโรงเรียนกฎหมาย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">จนกระทั่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นอำมาตย์ตรีหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2472<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> นายปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลสำคัญในการก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 และได้รับมอบหมายให้<strong>เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราว</strong>ในครั้งนั้น <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ในปี พ.ศ. 2476 ได้ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้นเสนอรัฐบาล </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบและถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ จึงต้องเดินทางออกนอกประเทศ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ภายหลังเมื่อพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">รัฐบาลได้ตั้งคณะกรรมการในคณะหนึ่งเพื่อสอบสวนว่านายปรีดี พนมยงค์ เป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ผลการสอบสวนปรากฎว่า นายปรีดี พนมยงค์ ไม่มีมลทิน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และนายปรีดี พนมยงค์ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ในรัฐบาลของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ในด้านการศึกษา นายปรีดี พนมยงค์ ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นคนแรก<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ในขณะที่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา เมื่อปี พ.ศ. 2484 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ ถูกกันให้พ้นจากตำแหน่งทางการเมือง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> และในขณะที่สงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดำเนินอยู่ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ ได้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ติดต่อประสานงานกับขบวนการเสรีไทยภายนอกประเทศ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ภายใต้การนำของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช <br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ จนกระทั่งสงครามสิ้นสุดลง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับ แต่งตั้งให้เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและร่วมกับรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ดำเนินการประกาศว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">การที่รัฐบาลไทยประกาศสงครามกับอเมริกาและอังกฤษเป็นโมฆะ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> และได้หาทางผ่อนคลายสัญญาสมบูรณ์แบบที่ผูกมัดไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> เนื่องจากผลของการแพ้สงคราม<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> นายปรีดี พนมยงค์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 7 ของไทย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2489 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> เนื่องจากรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ ได้ลาออก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ในช่วงที่นายปรีดี พนมยงค์ บริหารประเทศอยู่นั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย คือ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2489 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้เกิดกรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลด้วยพระแสงปืน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> รัฐบาลถูกโจมตีอย่างหนัก<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">โดยถูกกล่าวหาว่ารัฐบาลพยายามปิดบังและอำพรางความจริงในกรณีสวรรคต </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> รวมทั้งไม่สามารถหาข้อเท็จจริงในการสวรรคตมาแจ้งให้ประชาชนทราบได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ในที่สุดนายปรีดี พนมยงค์ จึงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2489<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> ต่อมาเมื่อนายทหารบกทั้งในและนอกราชการ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ได้ก่อการรัฐประหารรัฐบาลของพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"> เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">นายปรีดี พนมยงค์ ได้หลบหนีออกนอกประเทศไปพำนักอยู่ที่มาเลเซีย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">และได้ลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ในสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเวลาหลายปี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">ต่อจากนั้นได้ใช้ชีวิตในวัยชราอย่างสงบเงียบที่ประเทศฝรั่งเศส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจวายที่บ้านพักชานกรุงปารีส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 รวมอายุได้ 83 ปี</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\"><a href=\"/node/43422\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled6.jpg\" height=\"52\" /></a><a href=\"/node/49354\"><img border=\"0\" width=\"131\" src=\"/files/u20258/Untitled5.jpg\" height=\"52\" /></a><br />\n</span>\n</p>\n<p><br />\n</p>\n', created = 1728412154, expire = 1728498554, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:335681ec3fe3117da9193557ed3d090a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คนที่ 7 นายปรีดี พนมยงค์

นายกรัฐมนตรีคนที่ 7

นายปรีดี พนมยงค์

(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)


ภาพจาก : http://www.chaloke.com/spaw/images/090511_12.jpg 

ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง

 สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 15 : 24 มีนาคม 2489 - 11 มิถุนายน 2489 

 สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 16 : 11 มิถุนายน 2489 - 21 สิงหาคม 2489

ประวัติ

นายปรีดี พนมยงค์ เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2443

ที่ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอกรุงเก่า จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เป็นบุตรของนายเสียง กับ นางลูกจันทร์ พนมยงค์

สมรสกับท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์

 เริ่มการศึกษาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

และเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่โรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม

สอบไล่ได้เป็นเนติบัณฑิตสยาม เมื่ออายุเพียง 19 ปี

ในปี พ.ศ. 2463 ได้รับทุนไปศึกษาต่อวิชากฎหมายที่ประเทศฝรั่งเศส

โดยศึกษาภาษาฝรั่งเศสและความรู้ทั่วไปที่ วิทยาลัยกอง (Lycee Caen)

 และศึกษากฎหมายที่มหาวิทยาลัยกอง (Caen)

ได้รับปริญญาทางกฎหมายและได้ "ลิซองซิเอ ทางกฎหมาย"

จากนั้นศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยปารีส

ได้ดุษฎีบัณฑิตทางกฎหมาย (Docteur en Droit) ฝ่ายเนติศาสตร์

และประกาศนียบัตรชั้นสูงทางเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยปารีส

 ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ที่ประเทศฝรั่งเศส ได้รับเลือกเป็นสภานายกแห่งสมาคมนักเรียนไทยในประเทศฝรั่งเศส

เมื่อเดินทางกลับประเทศไทย นายปรีดี พนมยงค์

ได้เข้ารับราชการเป็นผู้พิพากษาในกระทรวงยุติธรรมเมื่อปี พ.ศ. 2469

แล้วย้ายไปเป็นเลขานุการกรมร่างกฎหมายและเป็นอาจารย์สอนกฎหมายปกครองในโรงเรียนกฎหมาย

จนกระทั่งได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นอำมาตย์ตรีหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2472

 นายปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลสำคัญในการก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 และได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราวในครั้งนั้น

ในปี พ.ศ. 2476 ได้ร่างเค้าโครงเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้นเสนอรัฐบาล

แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบและถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์

นายปรีดี พนมยงค์ จึงต้องเดินทางออกนอกประเทศ

 ภายหลังเมื่อพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนาทำรัฐประหาร เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476

รัฐบาลได้ตั้งคณะกรรมการในคณะหนึ่งเพื่อสอบสวนว่านายปรีดี พนมยงค์ เป็นคอมมิวนิสต์หรือไม่

 ผลการสอบสวนปรากฎว่า นายปรีดี พนมยงค์ ไม่มีมลทิน

และนายปรีดี พนมยงค์ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

ในรัฐบาลของพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา

 ในด้านการศึกษา นายปรีดี พนมยงค์ ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง

และดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การของมหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นคนแรก

 ในขณะที่เกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา เมื่อปี พ.ศ. 2484

นายปรีดี พนมยงค์ ถูกกันให้พ้นจากตำแหน่งทางการเมือง

และได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

 และในขณะที่สงครามโลกครั้งที่ 2 กำลังดำเนินอยู่

นายปรีดี พนมยงค์ ได้ก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ

ติดต่อประสานงานกับขบวนการเสรีไทยภายนอกประเทศ

ภายใต้การนำของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

เพื่อต่อต้านญี่ปุ่นอย่างลับ ๆ จนกระทั่งสงครามสิ้นสุดลง

นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับ แต่งตั้งให้เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและร่วมกับรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ดำเนินการประกาศว่า

การที่รัฐบาลไทยประกาศสงครามกับอเมริกาและอังกฤษเป็นโมฆะ

 และได้หาทางผ่อนคลายสัญญาสมบูรณ์แบบที่ผูกมัดไทย

 เนื่องจากผลของการแพ้สงคราม

 นายปรีดี พนมยงค์ เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 7 ของไทย

เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2489

 เนื่องจากรัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ ได้ลาออก

ในช่วงที่นายปรีดี พนมยงค์ บริหารประเทศอยู่นั้น

ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย คือ ในวันที่ 9 มิถุนายน 2489

ได้เกิดกรณีสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลด้วยพระแสงปืน

 รัฐบาลถูกโจมตีอย่างหนัก

โดยถูกกล่าวหาว่ารัฐบาลพยายามปิดบังและอำพรางความจริงในกรณีสวรรคต

 รวมทั้งไม่สามารถหาข้อเท็จจริงในการสวรรคตมาแจ้งให้ประชาชนทราบได้

ในที่สุดนายปรีดี พนมยงค์ จึงลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2489

 ต่อมาเมื่อนายทหารบกทั้งในและนอกราชการ

ได้ก่อการรัฐประหารรัฐบาลของพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490

นายปรีดี พนมยงค์ ได้หลบหนีออกนอกประเทศไปพำนักอยู่ที่มาเลเซีย

และได้ลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ในสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นเวลาหลายปี

ต่อจากนั้นได้ใช้ชีวิตในวัยชราอย่างสงบเงียบที่ประเทศฝรั่งเศส

จนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคหัวใจวายที่บ้านพักชานกรุงปารีส

เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 รวมอายุได้ 83 ปี



สร้างโดย: 
คุณครูวิรัติ พนารัตน์ และ นางสาวชวิศา จาตุรมาน โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 387 คน กำลังออนไลน์