• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4e01aa4fee8f02cf0f652fb3a45336aa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #808000\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u20249/a5.jpg\" height=\"71\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #808000\"><img border=\"0\" width=\"194\" src=\"/files/u20249/s5.jpg\" height=\"322\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><strong>ภาพจาก</strong> </span><a href=\"http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram5.jpg\"><span style=\"color: #666699\">http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram5.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #808000\">พระราชประวัติ </span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ซึ่งประสูติแต่พระนางเธอพระองค์เจ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระศิรินทรา พระบรมราชินี) เสด็จพระราชสมภพเมื่อปีฉลู แรม 3 ค่ำ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เดือน 10 ตรงกับ วันอังคารที่ 20 กันยายน พุทธศักราช 2396 ในพระบรมมหาราชวัง มีพระนามเดิมว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตรสิริวัฒนราชกุมาร ในปีพุทธศักราช 2404 </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ และต่อมาปีพุทธศักราช 2410 ทรงได้รับเลื่อน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิจประชานารถ ทรงได้รับตำแหน่งในการกำกับราชการกรมมหาดเล็ก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">กรมพระคลังมหาสมบัติ และว่าการกรมทหารบกวังหน้าตามลำดับ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\">        ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีทั้งด้านอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี วิชาการสงคราม และการปกครอง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พร้อมกันนั้นก็ทรงได้รับการอบรมศึกษาสรรพวิชาทั้งปวงจากบรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และจากสมเด็จพระราชบิดาของพระองค์เอง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ติดตามใกล้ชิดในเวลาที่ทรงออกว่าราชการ นอกจากนี้ในเวลาที่พระราชบิดา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ทรงมีพระราชวินิจฉัยให้ข้อราชการก็มกมีรับสั่งให้สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เข้าเฝ้าเพื่อรับฟังพระบรมราโชวาทและพระบรมราชาธิบาย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ในข้อราชการรวมไปถึงราชประเพณีต่าง ๆ ด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมพระองค์พระราชโอรสให้พร้อม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ที่จะปกครองบ้านเมืองต่อไปในภายหน้า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\">        เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรคตแล้ว บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ และเหล่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิจประชานาถเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อจาก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สมเด็จพระราชบิดา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2411 ทรงพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">จุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษรัตนราชรวีวงศ์ วรุฒมพงษ์บริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันต บรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษฏ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภ ผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมล ขัติยราชประยูรมูลมุขราชดิลก มหาปริวาร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">นายกอนันต์มหันตวรฤทธิ์เดช สรรวิเศษสิรินมทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศ มโหดมบรมราชสมบัติ นภดลเศวตฉัตราดิฉัตร</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยมหาสวมินทร์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">มเหศวรมหินทรามหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาวศรัย พุทธาธิไตย รัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"> เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” ในขณะที่เสด็จขึ้นครองราชย์ทรงมีพระชนมายุได้เพียง 15 พรรษา ที่ประชุมจึงเห็นควรให้สมเด็จเจ้า</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไปก่อนจนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ และเข้าพระราชพิธีบรม</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ราชาภิเษกขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ในปีพุทธศักราช 2416 และนับแต่นั้นมาจึงทรงมีพระราชอำนาจสิทธิขาด</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">ในการปกครองและบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างเต็มที่ด้วยพระองค์เองสืบต่อไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"><strong><a href=\"/node/49389\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" />   พระราชกรณียกิจที่สำคัญ</a>   <a href=\"/node/49394\"><img border=\"0\" width=\"20\" src=\"/files/u20249/link.gif\" height=\"18\" />   ตราประจำรัชกาลที่ ๕</a></strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\"><span style=\"color: #808000\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716301225, expire = 1716387625, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4e01aa4fee8f02cf0f652fb3a45336aa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รัชกาลที่ ๕

ภาพจาก http://www.prdnorth.in.th/The_King/picture/ram5.jpg

พระราชประวัติ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ซึ่งประสูติแต่พระนางเธอพระองค์เจ้ารำเพยภมราภิรมย์ (สมเด็จพระศิรินทรา พระบรมราชินี) เสด็จพระราชสมภพเมื่อปีฉลู แรม 3 ค่ำ

เดือน 10 ตรงกับ วันอังคารที่ 20 กันยายน พุทธศักราช 2396 ในพระบรมมหาราชวัง มีพระนามเดิมว่า

สมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์บดินทรเทพมหามงกุฎ บุรุษยรัตนราชรวิวงศ์วรุตมพงศบริพัตรสิริวัฒนราชกุมาร ในปีพุทธศักราช 2404

เมื่อพระชนมายุได้ 9 พรรษา ทรงได้รับสถปนาเป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ และต่อมาปีพุทธศักราช 2410 ทรงได้รับเลื่อน

พระอิสริยยศเป็น กรมขุนพินิจประชานารถ ทรงได้รับตำแหน่งในการกำกับราชการกรมมหาดเล็ก

กรมพระคลังมหาสมบัติ และว่าการกรมทหารบกวังหน้าตามลำดับ


        ทรงได้รับการศึกษาอย่างดีทั้งด้านอักษรศาสตร์ โบราณราชประเพณี วิชาการสงคราม และการปกครอง

พร้อมกันนั้นก็ทรงได้รับการอบรมศึกษาสรรพวิชาทั้งปวงจากบรรดาข้าราชการชั้นผู้ใหญ่และจากสมเด็จพระราชบิดาของพระองค์เอง

โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ติดตามใกล้ชิดในเวลาที่ทรงออกว่าราชการ นอกจากนี้ในเวลาที่พระราชบิดา

ทรงมีพระราชวินิจฉัยให้ข้อราชการก็มกมีรับสั่งให้สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เข้าเฝ้าเพื่อรับฟังพระบรมราโชวาทและพระบรมราชาธิบาย

ในข้อราชการรวมไปถึงราชประเพณีต่าง ๆ ด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมพระองค์พระราชโอรสให้พร้อม

ที่จะปกครองบ้านเมืองต่อไปในภายหน้า


        เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรคตแล้ว บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ และเหล่าข้าราชการชั้นผู้ใหญ่

ได้กราบบังคมทูลเชิญสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิจประชานาถเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อจาก

สมเด็จพระราชบิดา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2411 ทรงพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา

จุฬาลงกรณ์ บดินทรเทพยมหามงกุฎ บุรุษรัตนราชรวีวงศ์ วรุฒมพงษ์บริพัตร วรขัติยราชนิกโรดม จาตุรันต บรมมหาจักรพรรดิราชสังกาศ

อุภโตสุชาตสังสุทธเคราะหณี จักรีบรมนาถ อดิศวรราชรามวรังกูร สุภาธิการรังสฤษฏ์ ธัญลักษณวิจิตรโสภาคยสรรพางค์

มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธิสรรพศุภ ผลอุดมบรมสุขุมมาลย์ ทิพยเทพาตารไพศาลเกียรติคุณอดุลยวิเศษ

สรรพเทเวศรานุรักษ์ วิสิษฐศักดิ์สมญาพินิตประชานาถ เปรมกระมล ขัติยราชประยูรมูลมุขราชดิลก มหาปริวาร

นายกอนันต์มหันตวรฤทธิ์เดช สรรวิเศษสิรินมทร อเนกชนนิกรสโมสรสมมติ ประสิทธิวรยศ มโหดมบรมราชสมบัติ นภดลเศวตฉัตราดิฉัตร

 สิริรัตโนปลักษณมหาบรมราชาภิเษกาภิสิต สรรพทศทิศวิชิตไชย สกลมไหสวริยมหาสวมินทร์

มเหศวรมหินทรามหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติ อาชาวศรัย พุทธาธิไตย รัตนสรณารักษ์ อดุลยศักดิ์อรรคนเรศราธิบดี

 เมตตากรุณาสีตลหฤทัย อโนปมัยบุญการสกลไพศาล มหารัษฎาธิบดินทร์ ปรมินทรธรรมิกหาราชาธิราช บรมนาถบพิตร

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว” ในขณะที่เสด็จขึ้นครองราชย์ทรงมีพระชนมายุได้เพียง 15 พรรษา ที่ประชุมจึงเห็นควรให้สมเด็จเจ้า

พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ไปก่อนจนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ และเข้าพระราชพิธีบรม

ราชาภิเษกขึ้นเป็นครั้งที่ 2 ในปีพุทธศักราช 2416 และนับแต่นั้นมาจึงทรงมีพระราชอำนาจสิทธิขาด

ในการปกครองและบริหารราชการแผ่นดินได้อย่างเต็มที่ด้วยพระองค์เองสืบต่อไป

   พระราชกรณียกิจที่สำคัญ      ตราประจำรัชกาลที่ ๕

 

สร้างโดย: 
นางพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์ และ น.ส.กฤตินา จันทร์หวร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 386 คน กำลังออนไลน์