• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9c30a82abbb834d175596c20c97b1554' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300; background-color: #ffcc99\"><u>เกณฑ์การเลือกใช้สมุนไพรเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน</u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300; background-color: #ffcc99\"><img border=\"0\" width=\"446\" src=\"/files/u19337/fruit.jpg\" height=\"446\" style=\"width: 476px; height: 429px\" /></span></strong>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<a href=\"http://share.psu.ac.th/file/thanyaporn.g/fruit.jpg\">http://share.psu.ac.th/file/thanyaporn.g/fruit.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff; background-color: #ffff99\">การเลือกสมุนไพรที่จะพัฒนาต้องไปใช้ในการสาธารณสุขมูลฐานมีหลักเกณฑ์ที่จะต้องยึดถือดังต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">เป็นสมุนไพรที่ใช้รักษาโรค</span> หรืออาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่วินิจฉัยได้เอง เช่น อาการจุกเสียด ท้องผูก ท้องเสีย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">บาดแผลเล็กน้อย และโรคผิวหนังบางชนิด เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">เป็นสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่น</span> เพื่อประชาชนจะได้มีใช้เมื่อต้องการ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">ยาที่เตรียมขึ้นจากสมุนไพรต้องเป็นยาที่เตรียมได้ง่าย</span> ไม่ต้องใช้ความรู้ เทคโนโลยี หรือความชำนาญสูง เช่น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">เตรียมโดยวิธีต้ม บด และชง เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">ยาสมุนไพรนั้นต้องใช้ได้ง่าย</span> หากเป็นสมุนไพรที่กินได้ยาก อาจแข่งขันกับยาแผนปัจจุบันไม่ได้ ตัวอย่างเช่น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">สมุนไพรฟ้าทะลายโจร มีรสขมมาก อาจจะต้องปรับปรุงรูปแบบโดยบรรจุในแคปซูลแทนการชงน้ำกิน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">สมุนไพรนั้นต้องปลอดภัย</span> อย่างน้อยควรต้องมีการตรวจสอบทางพิษวิทยาอย่างเพียงพอ หากไม่มีหรือมีหลักฐาน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">การตรวจสอบน้อยก็ควรจะเป็นพืชอาหาร หรือเป็นยาที่ใช้ภายนอกเท่านั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">ต้องแน่ใจว่าสมุนไพรนั้นให้ผลดี</span> อย่างน้อยควรมีหลักฐานทางเภสัชวิทยาที่ยืนยันผลการใช้ และถ้าจะให้เป็นที่ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">ยอมรับของบุคลากรสาธารณสุขก็จะต้องมีหลักฐานครบถ้วนทั้งเภสัชวิทยา พิษวิทยา และการทดลองทางคลินิค ขณะนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">จึงได้มีการส่งเสริมการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของบุคลากรเหล่านี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffcc99\">สมุนไพรที่นำมาใช้ต้องถูกชนิด</span>จึงจะได้ผลในการรักษา</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46313\" class=\"box\"><img border=\"0\" width=\"414\" src=\"/files/u19337/HOME_CARTOON.jpg\" height=\"314\" style=\"width: 78px; height: 61px\" /></a>  <span style=\"color: #99cc00; background-color: #ffcc99\">กลับสู่หน้าหลัก</span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ที่มา</span> หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715347623, expire = 1715434023, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9c30a82abbb834d175596c20c97b1554' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เกณฑ์การเลือกใช้สมุนไพรเพื่อการสาธาณสุขมูลฐาน

เกณฑ์การเลือกใช้สมุนไพรเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน


http://share.psu.ac.th/file/thanyaporn.g/fruit.jpg

การเลือกสมุนไพรที่จะพัฒนาต้องไปใช้ในการสาธารณสุขมูลฐานมีหลักเกณฑ์ที่จะต้องยึดถือดังต่อไปนี้


เป็นสมุนไพรที่ใช้รักษาโรค หรืออาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่วินิจฉัยได้เอง เช่น อาการจุกเสียด ท้องผูก ท้องเสีย

บาดแผลเล็กน้อย และโรคผิวหนังบางชนิด เป็นต้น


เป็นสมุนไพรที่หาง่ายในท้องถิ่น เพื่อประชาชนจะได้มีใช้เมื่อต้องการ


ยาที่เตรียมขึ้นจากสมุนไพรต้องเป็นยาที่เตรียมได้ง่าย ไม่ต้องใช้ความรู้ เทคโนโลยี หรือความชำนาญสูง เช่น

เตรียมโดยวิธีต้ม บด และชง เป็นต้น


ยาสมุนไพรนั้นต้องใช้ได้ง่าย หากเป็นสมุนไพรที่กินได้ยาก อาจแข่งขันกับยาแผนปัจจุบันไม่ได้ ตัวอย่างเช่น

สมุนไพรฟ้าทะลายโจร มีรสขมมาก อาจจะต้องปรับปรุงรูปแบบโดยบรรจุในแคปซูลแทนการชงน้ำกิน


สมุนไพรนั้นต้องปลอดภัย อย่างน้อยควรต้องมีการตรวจสอบทางพิษวิทยาอย่างเพียงพอ หากไม่มีหรือมีหลักฐาน

การตรวจสอบน้อยก็ควรจะเป็นพืชอาหาร หรือเป็นยาที่ใช้ภายนอกเท่านั้น


ต้องแน่ใจว่าสมุนไพรนั้นให้ผลดี อย่างน้อยควรมีหลักฐานทางเภสัชวิทยาที่ยืนยันผลการใช้ และถ้าจะให้เป็นที่

ยอมรับของบุคลากรสาธารณสุขก็จะต้องมีหลักฐานครบถ้วนทั้งเภสัชวิทยา พิษวิทยา และการทดลองทางคลินิค ขณะนี้

จึงได้มีการส่งเสริมการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของบุคลากรเหล่านี้


สมุนไพรที่นำมาใช้ต้องถูกชนิดจึงจะได้ผลในการรักษา

 

  กลับสู่หน้าหลัก


ที่มา หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14

สร้างโดย: 
นางสาว นภัสวรรณ ยอดทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 226 คน กำลังออนไลน์