• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5a2185ebfe2a9629e4395394f9880a9a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ff99cc\">ศัพท์ที่ใช้ในการปรุงยา</span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"470\" src=\"/files/u19337/new3.jpg\" height=\"353\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://neroc.kku.ac.th/jscript/uploads/551000007667201s.jpg\"><strong>http://neroc.kku.ac.th/jscript/uploads/551000007667201s.jpg</strong></a>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #008000\">ในการปรุงยาผู้ปรุงยังจำเป็นที่จะต้องรู้เกี่ยวกับคำบางคำ ได้แก่</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">ทั้งห้า</span> หมายถึง ต้น ราก ใบ ดอก และผล </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /> <span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">ส่วน</span> หมายถึง ส่วนในการตวง(ปริมาตร)ไม่ใช่การชั่งน้ำหนัก </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">กระสายยา</span> หมายถึง ตัวละลายยา เช่น น้ำ และน้ำปูนใส เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">การสะตุ</span> หมายถึง การแปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่น เกลือ สารส้ม หรือเครื่องยาให้เป็นผงบริสุทธิ์โดย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">วิธีทำให้ </span><span style=\"color: #993366\">สลายตัวด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่ต้องการซึ่งเป็นมลทินระเหยหมดไปหรือเพื่อให้เครื่องยามีฤทธิ์่อ่อนลงโดย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">อาจเติมสาร </span><span style=\"color: #993366\">บางอย่าง เช่น น้ำมะนาว น้ำมะลิ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องยาหรือสมุนไพรนั้นๆ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">ประสะ</span> มีความหมาย 3 ประการ คือ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">1.การทำความสะอาดตัวยา หรือการล้างยา เช่น การทำความสะอาดเหง้าขิง เหง้าข่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">2.การใช้ปริมาณยาหลักเท่ากับยาทั้งหลาย เช่น ยาประสะกะเพรา มีกะเพราเป็นหลักและตัวยาอื่นๆอีก 6 ชนิด การปรุง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">จะใช้กะเพรา 6 ส่วน ตัวยาอื่นๆ อย่างลำ 1 ส่วน รวม 6 ส่วนเท่ากะเพรา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #993366\">3.การทำให้พิษหรือสิ่งที่ไม่ต้องการของตัวยาอ่อนลง โดยที่ตัวยาที่ต้องการคงสภาพเดิม เช่น ประสะมหาหิงคุ์ หมายถึง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993366\">การทำให้กลิ่นเหม็นของมหาหิงคุ์ลดลง โดยใช้น้ำใบกะเพราต้มเดือดมาละลายมหาหิงคุ์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193539535.gif\" height=\"50\" /><span style=\"color: #993366\"><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">ใบเพสลาด</span> หมายถึง ใบไม้ที่จวนจะแก่</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"420\" src=\"/files/u19337/line31.gif\" height=\"30\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><a href=\"/node/46313\" class=\"box\"><img border=\"0\" width=\"414\" src=\"/files/u19337/HOME_CARTOON.jpg\" height=\"314\" style=\"width: 80px; height: 62px\" /></a><span style=\"background-color: #99ccff\">กลับสู่หน้าหลัก</span></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #ccffcc\">ที่มา</span> หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715366946, expire = 1715453346, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5a2185ebfe2a9629e4395394f9880a9a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศัพท์ที่ใช้ในการปรุงยา

ศัพท์ที่ใช้ในการปรุงยา

http://neroc.kku.ac.th/jscript/uploads/551000007667201s.jpg


ในการปรุงยาผู้ปรุงยังจำเป็นที่จะต้องรู้เกี่ยวกับคำบางคำ ได้แก่


ทั้งห้า หมายถึง ต้น ราก ใบ ดอก และผล

 ส่วน หมายถึง ส่วนในการตวง(ปริมาตร)ไม่ใช่การชั่งน้ำหนัก


กระสายยา หมายถึง ตัวละลายยา เช่น น้ำ และน้ำปูนใส เป็นต้น


การสะตุ หมายถึง การแปรรูปลักษณะของบางอย่าง เช่น เกลือ สารส้ม หรือเครื่องยาให้เป็นผงบริสุทธิ์โดย

วิธีทำให้ สลายตัวด้วยไฟ เพื่อให้สิ่งที่ไม่ต้องการซึ่งเป็นมลทินระเหยหมดไปหรือเพื่อให้เครื่องยามีฤทธิ์่อ่อนลงโดย

อาจเติมสาร บางอย่าง เช่น น้ำมะนาว น้ำมะลิ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเครื่องยาหรือสมุนไพรนั้นๆ


ประสะ มีความหมาย 3 ประการ คือ


1.การทำความสะอาดตัวยา หรือการล้างยา เช่น การทำความสะอาดเหง้าขิง เหง้าข่า


2.การใช้ปริมาณยาหลักเท่ากับยาทั้งหลาย เช่น ยาประสะกะเพรา มีกะเพราเป็นหลักและตัวยาอื่นๆอีก 6 ชนิด การปรุง

จะใช้กะเพรา 6 ส่วน ตัวยาอื่นๆ อย่างลำ 1 ส่วน รวม 6 ส่วนเท่ากะเพรา


3.การทำให้พิษหรือสิ่งที่ไม่ต้องการของตัวยาอ่อนลง โดยที่ตัวยาที่ต้องการคงสภาพเดิม เช่น ประสะมหาหิงคุ์ หมายถึง

การทำให้กลิ่นเหม็นของมหาหิงคุ์ลดลง โดยใช้น้ำใบกะเพราต้มเดือดมาละลายมหาหิงคุ์


ใบเพสลาด หมายถึง ใบไม้ที่จวนจะแก่

 

 

กลับสู่หน้าหลัก


ที่มา หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14

สร้างโดย: 
นางสาว นภัสวรรณ ยอดทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 260 คน กำลังออนไลน์