• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e90e9adafe21709c640b51c71758ca88' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><u><span style=\"color: #ff6600; background-color: #ffff99\">การปรุงยาสมุนไพร</span></u></strong> <strong><br />\n  </strong><strong></strong><strong></strong><strong></strong></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">ในการปรุงยาจากสมุนไพร ผู้ปรุงยาจำเป็นต้องรู้หลักการปรุงยา 4 ประการ คือ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #99cc00\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20070203221825968.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ccffcc\">เภสัชวัตถุ</span> ผู้ปรุงยาต้องรู้จักชื่อ และลักษณะของเภสัชวัตถุทั้ง 3 จำพวก คือ พืชวัตถุ สัตววัตถุ และธาตุวัตถุ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\">รวมทั้งรูป สี กลิ่น และรสของเภสัชวัตถุนั้นๆตัวอย่างเช่น กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิ่นหอม รสเผ็ดร้อน </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\">หลักของการปรุงยาข้อนี้จำเป็นต้องเรียนรู้จากของจริง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><img border=\"0\" width=\"505\" src=\"/files/u19337/line62.gif\" height=\"19\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #808000\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20070203221825968.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #99ccff\">สรรพคุณเภสัช</span> ผู้ปรุงยาต้องรู้จักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธ์กับรสของยาหรือสมุนไพร รสของยา เรียกว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #808000\">รสประธาน แบ่งออกเป็น</span> <br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">ยารสเย็น</span> ได้แก่ ยาที่ประกอบดวยใบไม้ที่รสไม่เผ็ดร้อน กสรดอกไม้ สัตตเขา(เขาสัตว์ 7 ชนิด) เนาวเขี้ยว </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">(เขี้ยวสัตว์ 9 ชนิด) และของที่เผาเป็นถ่าน ตัวอย่างเช่น ยามหานิล ยามหากาฬ เป็นต้น ยากลุ่มนี้ใช้สำหรับรักษา </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">โรคหรืออาการผิดปรกติทางเตโชธาตุ(ธาตุไฟ) </span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">ยารสร้อน</span> ได้แก่ ยาที่นำเอาเบญจกูล ตรีกฎุก หัสคุณ ขิง และข่านำมาปรุง ตัวอย่างเช่น ยาแผนโบราณที่เรียกว่า </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ยาเหลืองทั้งหลาย ยากลุ่มนี้ใช้สำหรับรักษาโรคและอาการผิดปรกติทางวาโยธาตุ(ธาตุลม) </span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">ยารสสุขุม</span> ได้แก่ ยาที่ผสมด้วย โกฐ เทียน กฤษณา กระลำพัก ชะลูด อบเชย ขอน และแก่นจันทน์เทศ เป็นต้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #3366ff\">ตัวอย่างเช่น ยาหอมทั้งหลาย ยากลุ่มนี้ใช้รักษาความผิดปรกติทางโลหิต</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\">นอกจากรสประธานของยาดังที่กล่าวนี้ เภสัชวัตถุยังมีรสต่างๆอีก 9 รส คือ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">รสฝาด</span> ชอบสมาน ใช้สมานแผล แก้บิด คุมธาตุ แก้ท้องเสีย </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /> <span style=\"background-color: #ffcc99\">รสหวาน</span> ซึบซาบไปตามเนื้อ ทำให้ร่างกายชุ่มชื้น บำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย ทำให้ชุ่มคอ แก้ไอ </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /> <span style=\"background-color: #ffcc99\">รสเมาเบื่อ</span> แก้พิษ แก้พยาธิ แก้สัตว์กัดต่อย ขับพยาธิ แก้โรคผิวหนัง </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\"> รสขม</span> แก้ทางโลหิตและดี แก้ไข้ เจ็บคอ ร้อนใน กระหายน้ำ เจริญอาหาร </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">รสเผ็ดร้อน</span> แก้ลม บำรุงธาตุ ขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยย่อยอาหาร </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">รสมัน</span> แก้เส้นเอ็น บำรุงเส้นเอ็น แก้ปวดเมื่อยร่างกาย แก้ไขพิการ แก้ปวดเข่าปวดข้อ </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">รสหอมเย็น</span> ทำให้ชื่นใจ บำรุงหัวใจ ชูกำลัง แก้อ่อนเพลีย แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /> <span style=\"background-color: #ffcc99\">รสเค็ม</span> ซึบซาบไปตามผิวหนัง รักษาโรคผิวหนัง รักษาเนื้อไม่ให้เน่า แก้ประดง ลมพิษ </span><br />\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">รสเปรี้ยว</span> กัดเสมหะ แก้เสมหะพิการ แก้ไอ ช่วยให้ระบายขับถายเมือกมัน แก้เลือดออกตามไรฟัน  ฟอกโลหิต </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\">ทำให้โลหิตไหลเวียนดีขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008080\"><img border=\"0\" width=\"505\" src=\"/files/u19337/line62.gif\" height=\"19\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20070203221825968.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffff99\">คณาเภสัช</span> ผู้ปรุงยาต้องรู้จักเครื่องยาที่ประกอบด้วยเภสัชวัตถุมากกว่า 1 ชนิด ที่นำมารวมกันแล้วเรียก</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\">เป็นชื่อเดียว</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"505\" src=\"/files/u19337/line62.gif\" height=\"19\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20070203221825968.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ccffcc\">เภสัชกรรม</span> ผู้ปรุงยาต้องรู้จักการปรุงยาซึ่งมีสิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ</span> <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">พิจารณาที่ตัวยา</span> ว่าใช้ส่วนไหนของเภสัชวัตถุ เช่น ถ้าเป็นพืชวัตถุ จะใช้ส่วนเปลือก รากหรือดอก ใช้สดหรือแห้ง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">ต้องแปรสภาพก่อนหรือไม่ ตัวอย่างพืชสมุนไพรที่ต้องแปรสภาพก่อน ได้แก่ เมล็ดสลอด เพราะสมุนไพรนี้มีฤทธิ์แรง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\">จึงต้องแปรสภาพเพื่อลดฤทธิ์เสียก่อน </span><br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><img border=\"0\" width=\"50\" src=\"/files/u19337/20060928193610524.gif\" height=\"50\" /><span style=\"background-color: #ffcc99\">ดูขนาดของตัวยา</span> ว่าใช้อย่างละเท่าไร</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><a href=\"/node/46313\" class=\"box\"><img border=\"0\" width=\"414\" src=\"/files/u19337/HOME_CARTOON.jpg\" height=\"314\" style=\"width: 80px; height: 62px\" /></a> กลับสู่หน้าหลัก</span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"right\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<strong><span style=\"color: #008080; background-color: #ff99cc\">ที่มา</span> หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14</strong>\n</p>\n', created = 1715367697, expire = 1715454097, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e90e9adafe21709c640b51c71758ca88' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การปรุงยาสมุนไพร

การปรุงยาสมุนไพร 
 

ในการปรุงยาจากสมุนไพร ผู้ปรุงยาจำเป็นต้องรู้หลักการปรุงยา 4 ประการ คือ


เภสัชวัตถุ ผู้ปรุงยาต้องรู้จักชื่อ และลักษณะของเภสัชวัตถุทั้ง 3 จำพวก คือ พืชวัตถุ สัตววัตถุ และธาตุวัตถุ

รวมทั้งรูป สี กลิ่น และรสของเภสัชวัตถุนั้นๆตัวอย่างเช่น กะเพราแดงและกะเพราขาว ใบมีกลิ่นหอม รสเผ็ดร้อน

หลักของการปรุงยาข้อนี้จำเป็นต้องเรียนรู้จากของจริง


สรรพคุณเภสัช ผู้ปรุงยาต้องรู้จักสรรพคุณของยา ซึ่งสัมพันธ์กับรสของยาหรือสมุนไพร รสของยา เรียกว่า

รสประธาน แบ่งออกเป็น
ยารสเย็น ได้แก่ ยาที่ประกอบดวยใบไม้ที่รสไม่เผ็ดร้อน กสรดอกไม้ สัตตเขา(เขาสัตว์ 7 ชนิด) เนาวเขี้ยว

(เขี้ยวสัตว์ 9 ชนิด) และของที่เผาเป็นถ่าน ตัวอย่างเช่น ยามหานิล ยามหากาฬ เป็นต้น ยากลุ่มนี้ใช้สำหรับรักษา

โรคหรืออาการผิดปรกติทางเตโชธาตุ(ธาตุไฟ)
ยารสร้อน ได้แก่ ยาที่นำเอาเบญจกูล ตรีกฎุก หัสคุณ ขิง และข่านำมาปรุง ตัวอย่างเช่น ยาแผนโบราณที่เรียกว่า

ยาเหลืองทั้งหลาย ยากลุ่มนี้ใช้สำหรับรักษาโรคและอาการผิดปรกติทางวาโยธาตุ(ธาตุลม)
ยารสสุขุม ได้แก่ ยาที่ผสมด้วย โกฐ เทียน กฤษณา กระลำพัก ชะลูด อบเชย ขอน และแก่นจันทน์เทศ เป็นต้น

ตัวอย่างเช่น ยาหอมทั้งหลาย ยากลุ่มนี้ใช้รักษาความผิดปรกติทางโลหิต

 

นอกจากรสประธานของยาดังที่กล่าวนี้ เภสัชวัตถุยังมีรสต่างๆอีก 9 รส คือ


รสฝาด ชอบสมาน ใช้สมานแผล แก้บิด คุมธาตุ แก้ท้องเสีย
 รสหวาน ซึบซาบไปตามเนื้อ ทำให้ร่างกายชุ่มชื้น บำรุงกำลัง แก้อ่อนเพลีย ทำให้ชุ่มคอ แก้ไอ
 รสเมาเบื่อ แก้พิษ แก้พยาธิ แก้สัตว์กัดต่อย ขับพยาธิ แก้โรคผิวหนัง
 รสขม แก้ทางโลหิตและดี แก้ไข้ เจ็บคอ ร้อนใน กระหายน้ำ เจริญอาหาร
รสเผ็ดร้อน แก้ลม บำรุงธาตุ ขับลมในกระเพาะอาหารและลำไส้ ช่วยย่อยอาหาร
รสมัน แก้เส้นเอ็น บำรุงเส้นเอ็น แก้ปวดเมื่อยร่างกาย แก้ไขพิการ แก้ปวดเข่าปวดข้อ
รสหอมเย็น ทำให้ชื่นใจ บำรุงหัวใจ ชูกำลัง แก้อ่อนเพลีย แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ
 รสเค็ม ซึบซาบไปตามผิวหนัง รักษาโรคผิวหนัง รักษาเนื้อไม่ให้เน่า แก้ประดง ลมพิษ
รสเปรี้ยว กัดเสมหะ แก้เสมหะพิการ แก้ไอ ช่วยให้ระบายขับถายเมือกมัน แก้เลือดออกตามไรฟัน  ฟอกโลหิต

ทำให้โลหิตไหลเวียนดีขึ้น


คณาเภสัช ผู้ปรุงยาต้องรู้จักเครื่องยาที่ประกอบด้วยเภสัชวัตถุมากกว่า 1 ชนิด ที่นำมารวมกันแล้วเรียก

เป็นชื่อเดียว


เภสัชกรรม ผู้ปรุงยาต้องรู้จักการปรุงยาซึ่งมีสิ่งที่ควรปฏิบัติ คือ
พิจารณาที่ตัวยา ว่าใช้ส่วนไหนของเภสัชวัตถุ เช่น ถ้าเป็นพืชวัตถุ จะใช้ส่วนเปลือก รากหรือดอก ใช้สดหรือแห้ง

ต้องแปรสภาพก่อนหรือไม่ ตัวอย่างพืชสมุนไพรที่ต้องแปรสภาพก่อน ได้แก่ เมล็ดสลอด เพราะสมุนไพรนี้มีฤทธิ์แรง

จึงต้องแปรสภาพเพื่อลดฤทธิ์เสียก่อน
ดูขนาดของตัวยา ว่าใช้อย่างละเท่าไร

 กลับสู่หน้าหลัก

ที่มา หนังสือ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่ม 14

สร้างโดย: 
นางสาว นภัสวรรณ ยอดทอง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 334 คน กำลังออนไลน์